คุยสุขภาพ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 274 ตุลาคม 2550
    "ภาพหนึ่งภาพอาจมีความหมายมากกว่าอักษรนับร้อยนับพันคำ การเรียนรู้จากภาพจริงเกี่ยวกับผู้ป่วย คือที่มาของ " ปริศนาคลินิก" ซึ่งบรรจุเนื้อหาอันเป็นปริศนาที่เลือกสรรอย่างบรรจงจากวิทยากรเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน"สมนึก สังฆานุภาพ พ.บ.ผู้ช่วยศาสตราจารย์, หน่วยโรคติดเชื้อ, ภาควิชาอายุรศาสตร์, คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ...
  • วารสารคลินิก 274 ตุลาคม 2550
    10. ภัยพิบัติจากกระสุนปืนภัยพิบัติจากกระสุนปืน (mass casualties from gunshot attack) คือ การบาดเจ็บล้มตายเป็นจำนวนมากจากการยิงกราดเข้าไปในฝูงชน ซึ่งอาจเป็นการยิงครั้งเดียว (ชุดเดียว) หรือหลายครั้ง (หลายชุด) หรือต่อเนื่อง เช่น ในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516, 6 ตุลาคม 2519 และ 17-20 พฤษภาคม 2535 ในประเทศไทย.ในประเทศอื่นๆ ก็มีภัยพิบัติจากกระสุนปืนในเหตุการณ์อันเกี่ยวข้องกับการเมือง การศาสนา (เช่น ...
  • วารสารคลินิก 274 ตุลาคม 2550
    "เรามีความสุขทุกครั้งที่พ่อแม่พูดว่าเขามีความสุข หลังจากที่เคยมีความทุกข์ที่รู้ว่าลูกบกพร่องทางสติปัญญา"  คำกล่าวข้างต้น ...
  • วารสารคลินิก 274 ตุลาคม 2550
    นายแพทย์อำนาจ กุสลานันท์ เลขาธิการแพทยสภา ให้ข่าวว่า เมื่อวันที่ 30,31 สิงหาคม 2550 ที่ผ่านมา แพทยสภา นำโดย นายแพทย์อำนาจ กุสลานันท์ เลขาธิการแพทยสภา, นายแพทย์สัมพันธ์ คมฤทธิ์ รองเลขาธิการแพทยสภา, นาวาอากาศเอก (พิเศษ) นายแพทย์อิทธพร คณะเจริญ และนายแพทย์ไพโรจน์ บุญศิริคำชัย ผู้ช่วยเลขาธิการแพทยสภา ได้เสนอโครงการจัดอบรมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเพื่อเป็นพยานศาล ณ ห้องประชุมนายแพทย์ไพจิตร ปวะบุตร ...
  • วารสารคลินิก 274 ตุลาคม 2550
    เมื่อคุณเกิดบาดแผลฉีกขาดมีเลือดออก สักครู่เลือดจะแข็งตัวและหยุดไหลได้เองซึ่งเป็นการรักษาตัวเองตามธรรมชาติ. ผู้ที่สูญเสียกลไกนี้ไปจะมีอาการเลือดออกผิดปกติหรือเลือดแข็งตัวช้านั่นเอง. ทางตรงกันข้ามผู้ป่วยบางคนกลับมีเลือดแข็งตัวผิดปกติจนเป็นลิ่มเลือดไปอุดตันหลอดเลือดสำคัญๆ ของร่างกาย การศึกษาในเรื่องนี้จึงถือเป็นงานหนึ่งที่สำคัญของมนุษยชาติ.ปัจจุบันทราบแล้วว่าการแข็งตัวของเลือดอาศัยกลไก 2 ...
  • วารสารคลินิก 274 ตุลาคม 2550
    Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็นสัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับ แต่ความรู้ใหม่ๆ ...
  • วารสารคลินิก 274 ตุลาคม 2550
    Q อยากเรียนถามว่าจะทราบได้อย่างไรว่าตาแดงชนิดใดเป็นอันตรายรัชดาภรณ์ ตันติมาลา  ...
  • วารสารคลินิก 274 ตุลาคม 2550
    คำถาม ขอทราบเกี่ยวกับยาที่สามารถป้องกันไข้รูมาติกได้ผล.สมาชิกคำตอบ เมื่อเป็นไข้รูมาติกแล้วจำเป็นต้องให้ยาป้องกันไม่ให้กลับเป็นซ้ำ (secondary prophylaxis) เพื่อไม่ให้กลายเป็นโรคลิ้นหัวใจรูมาติกถาวร หรือไม่ให้โรคลิ้นหัวใจที่เป็นอยู่แล้วทรุดลง สามารถเลือกใช้ยาป้องกันอย่างใดอย่างหนึ่งดังแสดงในตารางที่ 1 การให้ยาฉีดจะมีประสิทธิภาพดีกว่ายากิน ระยะเวลาที่ต้องให้ยาป้องกันแสดงในตารางที่ 2.ตารางที่ 1. ...
  • วารสารคลินิก 273 กันยายน 2550
    เวลานี้มีการกล่าวขานกันถึงเรื่อง "Humanized medicine" "Humanized care" และ "การดูแลผู้ป่วยด้วยหัวใจแห่งความเป็นมนุษย์" กันอย่างกว้างขวาง. วาทกรรมเหล่านี้ดูเหมือนจะเป็นเรื่องใหม่ แต่จริงๆ แล้วเป็นการต่อยอดจากแนวคิดในการดูแลผู้ป่วย แบบองค์รวม (holistic care) ที่เน้นการเชื่อมโยงมิติทางกาย (การเจ็บป่วยหรือโรค) เข้ากับมิติทางจิตและสังคมนั่นเอง ...
  • วารสารคลินิก 273 กันยายน 2550
    การแพทย์ตะวันตกได้รับการยอมรับในวงกว้างทั่วโลก รวมทั้งในประเทศไทย ว่ามีพัฒนาการและความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วทั้งในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จนเป็นความหวังว่าจะทำให้มนุษย์มีสุขภาพดี และนำไปสู่ความเป็นอยู่ที่ดีทั้งในระดับบุคคลและสังคม. ความก้าวหน้าด้านวิทยาการทำให้เกิดความเข้าใจกันว่า จะสามารถรักษาโรคให้หายขาดหรือทุเลาลงได้ และจะสามารถยืดชีวิตหรือชะลอการตายได้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด. ...