-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
111
กรกฎาคม 2531
14. พ่อแม่มีหน้าที่ปลูกฝัง “วิญญาณแข่งขัน”ถ้าอยากมีลูกหัวดี มีสิ่งสำคัญอีกสิ่งหนึ่งซึ่งเป็นหน้าที่ของพ่อแม่คือ การปลูกฝัง “วิญญาณแข่งขัน”ครอบครัวญี่ปุ่นสมัยนี้มีลูกเฉลี่ยครอบครัวละ 1.7 คน ส่วนใหญ่จะมีลูกเพียง 2 คนหรือมีลูกคนเดียวเท่านั้น สมัยก่อนเรามีพี่น้อง 5 คน เป็นเรื่องธรรมดา แต่สมัยนี้กลายเป็นสิ่งแปลกถ้าใครมีลูกมากขนาดนั้น อาจเป็นเพราะพ่อแม่มีลูกน้อยนี่เอง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
110
มิถุนายน 2531
ในหมอชาวบ้านฉบับนี้คุณหมอสุรเกียรติ อาชานุภาพ เขียนเรื่อง ‘ลดความเห็นแก่ตัว เพิ่มพลังต้านทานโรค’ ที่จริงเรารู้กันมานานแล้วว่าถ้าจิตใจดีจะไม่ค่อยเจ็บป่วยด้วยโรคต่าง ๆ รวมทั้งโรคติดเชื้อ ลองสังเกตดูว่า แม้แต่การเป็นหวัด ถ้าจิตใจไม่ดีจะเป็นหวัดบ่อย แต่ถ้าจิตใจดีจะไม่ค่อยเป็นหวัด มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ว่า สมอง จิตใจ และระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายมีความเกี่ยวข้องกัน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
110
มิถุนายน 2531
การประชุมสัมมนาของผู้นำเยาวชน จากสถาบันการศึกษา ระดับอุดมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครและจังหวัดใกล้เคียง จำนวน 49 คนเมื่อเร็ว ๆ นี้ ซึ่งจัดโดยสมาคมพิทักษ์ประโยชน์ ผู้บริโภคและกลุ่มอาสาสมัครเพื่อผู้บริโภคได้สำรวจการใช้และการจำหน่ายยาฆ่าแมลงในย่านภาษีเจริญ พบว่าเกษตรกรในแถบนั้นยังไม่มีความรู้ ความเข้าใจและการปฏิบัติยังไม่ถูกต้อง เช่น ไม่ใช้เครื่องมือป้องกันในระหว่างฉีดพ่น หรือการผสมยาก็ใช้มือเปล่า ๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
110
มิถุนายน 2531
การช่วยคนติดเหล้าให้พ้นไปจากหล่มลึกของแอลกอฮอล์เมื่ออายุ 40 นั้นสายเกินไปแล้ว เราต้องหาทางป้องกันตั้งแต่ลูกหลานของเรามีอายุได้ 11 ปีขึ้นไปใครที่คิดว่าการติดเหล้าเป็นปัญหาของผู้ใหญ่ เห็นทีจะถูกหาว่าล้าหลังในการรับรู้ข้อมูลเสียแล้วละครับเพราะศาสตราจารย์จาวาด คาชานี ผู้สอนวิชาจิตเวชศาสตร์ ในคณะแพทย์ศาสตร์ ของมหาลัยมิสซูรี-โคลัมเบีย ได้เสนอผลการศึกษาล่าสุดเกี่ยวกับการติดเหล้าในหมู่ชาวอเมริกันว่า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
110
มิถุนายน 2531
พ่อและแม่ส่วนใหญ่มักไม่รู้หรอกว่า การเขย่าตัวลูกเล็ก ๆ นั้นเป็นอันตรายได้ จากสถิติทารกที่ได้รับการรักษาจากกลุ่มที่ป่วยจากการถูกเขย่า ประมาณ 1 ใน 3 ต้องเสียชีวิตไป 1 ใน 3 สามารถรักษาให้หายเป็นปกติได้ และร้อยละ 30-40 ของที่เหลือรักษาให้หายเป็นปกติไม่ได้ เป็นเหตุให้กลายเป็นเด็กพิการโดยถาวรแพทย์เตือนการจับลูกเล็ก ๆ เขย่าด้วยอารมณ์โมโห อาจทำให้สมองกระทบกระเทือนโดยถาวรได้ แพทย์หญิงลูซินดา ไดคส์ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
110
มิถุนายน 2531
“แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ในสถานบริการสาธารณสุข จะมีการใช้ภาษาที่เข้าใจในหมู่หมอด้วยกันเอง หากท่านได้ยินได้เห็นภาษาหมอคำใดแล้วไม่เข้าใจ ก็ขอเชิญเขียนจดหมายถามมา ยังคอลัมน์ได้เลยครับ”“อย่าไปหาหมอร้านนี้เลย หมอชอบเลี้ยงไข้” “หมอตรวจแล้วไม่เห็นบอกอะไร นอกจากนัดให้ไปฉีดยาทุกวัน สงสัยจะเลี้ยงไข้แหง ๆ”“ไปหาหมอคนนี้ตั้งหลายครั้ง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
110
มิถุนายน 2531
คำแนะนำของแพทย์ในอนาคต“ถ้าอยากมีสุขภาพดี คุณควรใส่ใจปฏิบัติในสิ่งต่อไปนี้”หนึ่ง ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอสอง กินอาหารให้ได้สัดส่วนของอาหารหลัก 5 หมู่อย่างเหมาะสมและ สาม ทำความดีต่อผู้อื่นให้มากขึ้น”หลักแห่งอายุวัฒนะ 3 ประการนี้ จะเป็นสุขบัญญัติที่แพทย์ในอนาคต ใช้แนะนำให้แก่ประชาชนทั่วไปในการเสริมสร้างสุขภาพให้แข็งแรง เพื่อป้องกันมิให้เกิดการเจ็บไข้ได้ป่วย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
110
มิถุนายน 2531
ในคนปกติ เมื่อประสบกับความผิดหวัง, การสูญเสียอันเป็นสิ่งที่รัก, ความเจ็บป่วย หรือความล้มเหลว ย่อมรู้สึกเศร้าใจ และไม่ช้าก็ค่อย ๆ ดีขึ้น จนเป็นปกติ มีคนบางคนเมื่อประสบกับสิ่งต่าง ๆ ดังกล่าวมานี้ จะมีอาการเศร้าใจ, รู้สึกว่าตนเองไร้คุณค่า, รู้สึกว่าชีวิตชั่งโหดร้ายอยู่เช่นนั้นติดต่อกันเป็นเวลานาน จนอาจนำไปสู่การฆ่าตัวตายในที่สุด คนที่มีอาการเช่นนี้ เรียกว่า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
110
มิถุนายน 2531
“ไข้” เป็นอาการที่แสดงว่ามีความผิดปกติ เกิดขึ้นกับร่างกายที่พบได้บ่อยมาก คือ การมี “เชื้อโรค” เข้าสู่ร่างกาย เช่น การเป็นหวัด การเจ็บคอ การออกผื่นและอุจจาระร่วงบางชนิด เป็นต้นการดูแลไข้ หรือที่แท้จริงคือ การดูแลผู้ที่มีอาการไข้ ผู้ที่มีอาการไข้ นอกจากตัวจะร้อน ซึ่งการวัดความร้อนสามารถวัดได้ด้วย “ปรอทวัดไข้” ดังนี้เคยกล่าวมาแล้วนั้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
110
มิถุนายน 2531
อาหารสมุนไพรที่ใช้รักษาอาการหรือโรคที่นำมาเสนอนี้ เป็นการศึกษาของประเทศจีน ซึ่งทางจีนได้มีการค้นคว้าอย่างเป็นระบบ หากท่านผู้อ่านท่านใดได้ เคยใช้ในการรักษาอาการ หรือโรคใดและได้ผล กรุณาแจ้งมายัง “หมอชาวบ้าน” เพื่อรวบรวมไว้เป็นข้อมูลศึกษา และเผยแพร่เพื่อให้เป็นประโยชน์ส่วนรวมต่อไป ...