บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 111 กรกฎาคม 2531
    บางประเทศมีการระบาดของเชื้อโรคเอดส์มาก เช่นประเทศคีนยา ในแอฟริกา ร้อยละ 20 ของประชากรทั่วไปและร้อยละ 80 ของโสเภณีมีเชื้อโรคเอดส์ในเลือด เป็นที่หวั่นเกรงกันว่าในประเทศเช่นนี้ ประชาชนจะตายเป็นเบืออย่างไม่รู้จะแก้ไขอย่างไร และประเทศจะประสบปัญหาทางสังคมเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นในหมู่ฝรั่ง คือคนอเมริกัน และยุโรปมีการะบาดของเอดส์เป็นที่สองรองจากแอฟริกาในกรุงเทพมหานคร เมื่อเร็ว ๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 111 กรกฎาคม 2531
    พ.ญ. พงศ์ภารดี เจาฑะเกษตริน อาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยามหิดล เปิดเผยว่า ปัจจุบันโรคอ้อวนที่พบกันมากในคนไทย โดยเฉพาะคนในเมืองหลวง สาเหตุของความอ้วนที่สำคัญคือ การได้รับอาหารที่มากเกินความจำเป็น ขาดการออกกำลังกาย หรือบางรายอาจเกิดจากโรคที่ทำให้ต้องกินยาบางประเภทเป็นระยะยาว ซึ่งทำให้อ้วนได้เรื่องที่น่าเป็นห่วงคือ ประชาชนมักนิยมใช้ยาลดความอ้วน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 111 กรกฎาคม 2531
    น.พ. หทัย ชิตานนท์ รองอธิบดีกรมการแพทย์เผยว่า ปัจจุบันปัญหาสาธารณสุขที่เพิ่มความสำคัญคือ ผลจากการดื่มสุราที่เป็นปัจจัยเสี่ยงร้ายแรงไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าการสูบบุหรี่คือ การดื่มสุรา พบว่าประชากรวัยทำงานอายุ 15 ปีขึ้นไป ดื่มสุรามากขึ้นเป็นลำดับ กล่าวคือวัยนี้จะดื่มถึงร้อยละ 26 ชายร้อยละ 40 จะดื่มสุรา ขณะที่หญิงร้อยละ 7 และร้อยละ 60 ของทุกครัวเรือน จะมีผู้ดื่มสุราอย่างน้อย 1 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 111 กรกฎาคม 2531
    รศ.ท.พ.ดร.สุขุม ธีรดิลก ภาควิชาสรีรวิทยาและชีวเคมี และทันตแพทศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดเผยว่า ฟลูออไรด์กำลังเป็นที่นิยมในการใช้เพื่อป้องกันฟันผุ ในปัจจุบัน มี 2 ชนิดคือ ชนิดใช้เฉพาะที่ และชนิดกินสำหรับชนิดกินนั้น มักนิยมเติมลงในน้ำประปาทำให้ประชาชนสามารถได้รับโดยอัตโนมัติ สำหรับฟลูออไรด์ที่ใช้เฉพาะที่ เวลาใช้ทันตแพทย์จะเป็นผู้แนะนำให้สำหรับแต่ละราย เช่น เด็กแรกเกิด-2 ขวบ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 111 กรกฎาคม 2531
    น.พ. ณรงค์ สุภัทรพันธ์ หัวหน้าภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี กล่าวว่า ความเครียดมีส่วนที่จะทำให้เกิดมะเร็งได้มี 2 ประการคือประการแรก ความเครียดทำให้คนบางกลุ่มหันไปใช้สารอย่างอื่นเพื่อลดความเครียด สารพวกนี้อาจจะทำให้เกิดเป็นมะเร็ง เช่น คนที่ลดความเครียดด้วยการสูบบุหรี่ ในบุหรี่มีสารที่ก่อให้เกิดมะเร็งประการทีสอง จากการทดลองในสัตว์ พบว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 111 กรกฎาคม 2531
    ผลการทดลองในเด็กอายุ 6-21 ปี ในเขตระบาดของเชื้อไทฟอยด์ในซิลีพบว่า จากการให้กินวัคซีนที่ทำจากเชื้อซัลโมเนลลาไทฟี ที่ถูกทำให้ลดความรุนแรงลง 3 ครั้ง สามารถป้องกันโรคได้นานอย่างน้อย 3 ปีความพยายามที่จะเพิ่มประสิทธิภาพของวัคซีนป้องกันโรคไทฟอยด์ได้พัฒนาไปอีกชั้นหนึ่งแล้ว เมื่อได้มีการผลิตวัคซีนชนิดกิน (enterie-coated capsule) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 111 กรกฎาคม 2531
    ผลการทดลองทางคลินิก โดยให้แอลฟา-อินเตอฟีรอนเปรียบเทียบกับยาหลอกในเด็ก ปรากฏว่าภายใน 18 เดือนหลังจากได้รับยา เด็กทั้งสองกลุ่มยังคงเป็นพาหะของเชื้อไวรัสตับอักเสบเหมือนกันผลการศึกษาของแพทย์แห่งมหาวิทยาลัยควีน แมรี ฮ่องกง ได้รายงานว่าแอลฟา-อินเตอร์ฟีรอนไม่มีผลต่อไวรัสตับอักเสบชนิดบี โดยคณะผู้วัยได้ทำการทดลองคลินิก โดยให้แอลฟา-อินเตอร์ฟีรอนเปรียบเทียบกับ “ยาหลอก” (placebo) ในเด็ก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 111 กรกฎาคม 2531
    มีทารกได้รับการให้ภูมิคุ้มกันด้วยยานี้ไปเป็นจำนวน 50,000 คน และยังไม่มีรายงานอาการข้างเคียงแต่อย่างใดนักวิทยาศาสตร์ในประเทศออสเตรียได้คิดค้นวัคซีนป้องกันไอกรน “ชนิดกิน” สำเร็จ ซึ่งถือว่าเป็นวัคซีนกินป้องกันไอกรนชนิดแรกเพราะที่ใช้กันอยู่เป็นชนิดใช้ฉีด ชนิดยากินนี้ดีกว่ายาฉีดที่สามารถใช้กับทารกแรกเกิดได้ทันที ขณะ-ที่ยาฉีดต้องให้หลังจากทารกมีอายุได้ 4-5 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 111 กรกฎาคม 2531
    “แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ในสถานบริการสาธารณสุข จะมีการใช้ภาษาที่เข้าใจในหมู่หมอด้วยกันเองหากท่านได้ยินได้เห็นภาษาหมอคำใดแล้วไม่เข้าใจ ก็ขอเชิญเขียนจดหมายถามมา ยังคอลัมน์ได้เลยครับ”"(6 มีนาคม) สักตี 2 ครึ่ง ตื่นขึ้นมาเหงื่อแตกซิก แต่หนาวสะท้านจับใจ.... 8 โมงเช้า หนาวเหมือนลูกนกในหิมะอย่างเดิม อมปรอทดูอุณหภูมิตัวเองปาขึ้นไป 38.9 องศา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 111 กรกฎาคม 2531
    ⇒ โรคหัวใจหรือโรคจิตใจทำเหตุบุญมีเดินคอตกออกจากโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง หลังจากได้เข้าไปตรวจร่างกาย และหมอบอกว่า “บุญมีเป็นโรคหัวใจ แต่ไม่ร้ายแรงและไม่เป็นมาก ให้กินยาตามที่หมอสั่งแล้วบุญมีจะหาย” บุญมีรู้สึกตกใจ เสียใจ และตื้อไปหมด จนลืมถามหมอว่า ตนเป็นโรคหัวใจชนิดไหน ต้องปฏิบัติตัว อย่างไร และต้องรักษาตนไปนานเท่าไรระยะ 2-3 สัปดาห์ก่อนมาหาหมอ บุญมีรู้สึกเหนื่อย อ่อนเพลีย ...