โรคตามระบบ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 71 มีนาคม 2528
    หากคุณเข็ดขยาดกับช่วงเวลาในรอบเดือน ซึ่งก่อความไม่สะดวกสบายให้คุณ ลองบริหาร ร่างกายในท่าง่าย ๆ ต่อไปนี้ เพื่อช่วยขจัดอาการปวดให้หมดไป“ดีสมีนอเรีย ” (Dysmenorrhea) คือชื่อทางการแพทย์ของอาการปวดในรอบเดือน แต่แพทย์ยังหาสาเหตุที่แท้จริงของอาการปวดนี้ไม่ได้ และไม่สามารถตอบได้ว่าเหตุใดผู้หญิงบางคนจึงปวดมากกว่าคนอื่น ที่แน่ๆ ก็คือทุก ๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 70 กุมภาพันธ์ 2528
    นอกจากความไม่สมดุลระหว่าง จำนวนบุคลากรทางการแพทย์กับจำนวนประชาชนแล้ว ภาวะสังคมและเศรษฐกิจในปัจจุบันยังทำให้ประชาชนจำนวนมากไม่สามารถใช้บริการของสถานพยาบาลได้ทุกครั้ง การดูแลตนเอง หรือดูแลซึ่งกันและกันเมื่อมีความผิดปกติบางอย่าง จึงมีความสำคัญที่จะช่วยแก้ปัญหาเฉพาะหน้าหรือบรรเทาภาวะวิกฤตก่อนที่จะไปสถานพยาบาลได้ และปัญหาบางอย่างต้องการเพียงพยาบาลในบ้าน ใหญ่ เกิดจากยุงกัด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 70 กุมภาพันธ์ 2528
    ก่อนอื่นต้องขอให้คำจำกัดความ หรือความหมายของคำว่า “ต้อกระจก” เสียก่อน ต้อกระจกหมายถึงภาวะที่เลนส์ภายในลูกตาเกิดภาวะขาวขุ่นขึ้นเนื่องจากสาเหตุอะไรก็ได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 69 มกราคม 2528
    ทางเดินของอาหารในร่างกายเราเริ่มจากปากไปสุดที่ทวารหนัก ทางเดินนี้เปรียบได้กับท่อกลวงที่มีปลายเปิดออกทั้งสองข้าง เริ่มจากปาก ช่องปาก คอหอย หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ และทวารหนัก อาหารที่เรากินเข้าไปถูกส่งผ่านไปในท่อดังกล่าวตามลำดับก่อนหลัง อาหารเมื่อผ่านลำไส้เล็กไปแล้วก็จะเข้าสู่ลำไส้ใหญ่ลำไส้ใหญ่ขนาดใหญ่กว่าลำไส้เล็กสมชื่อ เป็นส่วนที่เชื่อมระหว่างลำไส้เล็กกับปากทวารหนัก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 69 มกราคม 2528
    เกลื้อน เป็นโรคผิวหนังซึ่งเกิดจากเชื้อราชนิดหนึ่ง ชื่อว่า มาแลสซิเซีย เฟอร์เฟอร์ (Malassezia furfur) เป็นเชื้อราที่ชอบไขมันบนผิวหนังคน ไม่พบในสัตว์ คนที่เป็นมักไม่ค่อยมีอาการอะไร บางคนมีอาการคันยุบยิบบ้างเวลาเหงื่อออก แต่ก็พอทนได้ไม่รำคาญนัก เจ้าตัวเลยมักทิ้งไว้จนลุกลามเป็นดวงด่างๆ ขาวๆ ทั่วไป ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 67 พฤศจิกายน 2527
    ลิ้นกับฟันเป็นของคู่กัน ทั้งคู่เป็นอวัยวะที่อยู่ใกล้ชิดกันและทำงานประสานกัน เพื่อแปลงรูปอาหารที่จะเข้าสู่ร่างกายให้เหมาะสมที่ร่างกายจะย่อยเอาไปใช้ เมื่อใดที่ฟันทำงานลิ้นก็จะช่วยโดยอัตโนมัติ คุณเคยสังเกตบ้างไหมว่าเวลาแทะข้าวโพด ทันทีที่เมล็ดข้าวโพดเข้าสู่โพรงปาก ลิ้นก็จะม้วนตวัดเอาเมล็ดข้าวโพด ป้อนเข้าสู่ฟันกรามด้านในเพื่อบดให้ละเอียด ในขณะที่ฟันกำลังทำหน้าที่ของมัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 66 ตุลาคม 2527
    ก่อนที่จะอ่านเรื่องราวของโรคนี้ ท่านควรจะทราบก่อนว่า ต้อเนื้อคืออะไร ?“ต้อเนื้อ” เป็นโรคที่เกิดกับตาชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมที่ยื่นจากขอบตาดำเข้าไปบนตาดำ (ดังรูปที่ 1)ตำแหน่งที่พบมากคือด้านในหรือด้านหัวตา ทั้งนี้เชื่อว่าต้นเหตุที่จะทำให้เกิด (ซึ่งจะกล่าวต่อไป) กระทบบริเวณหัวตาได้มากกว่าส่วนหางตาอีกทั้งบริเวณหัวตามีเส้นเลือดมาหล่อเลี้ยงมาก เป็นอีกเหตุผลหนึ่ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 65 กันยายน 2527
    คุณเคยสงสัยบ้างไหมว่า ในขณะที่เรากำลังเดิน วิ่ง ถีบจักรยานว่ายน้ำ ร่างกายของเราทำอย่างไรจึงเคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้โดยมีท่วงท่าที่คล่องแคล่วไม่เคอะเขินสะดุด การเคลื่อนไหวของคนเราต้องการการทำงานร่วมกันของอวัยวะในร่างกายหลายอย่างคือกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ ที่ทำหน้าที่ของมันอย่างประสานและต่อเนื่อง ยิ่งเป็นนักกีฬายิมนาสติกที่กระโดดตีลังกาได้กลางอากาศ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 64 สิงหาคม 2527
    ดวงตาเป็นอวัยวะที่ควรแก่การทนุถนอม ดั่งที่ท่านคงจะทราบซึ้งอยู่แก่ใจแล้ว มีอะไรเกิดกับลูกตาเพียงนิดเดียวเกิดความไม่สบายขึ้นมาทันที แม้แต่เศษผงธุลีเพียงเล็กน้อย...ที่เรียกว่า “ผงเข้าตา” นั่นไงธรรมชาติเห็นความสำคัญของอวัยวะส่วนนี้เป็นอย่างดีจึงได้สร้างกรอบที่อยู่ของดวงตาหรือลูกตา 2 ดวง ภายใจเบ้าที่มีความแข็งแรง ประดุจหลุมหลบภัย หรือภายในป้อมปราการอันแข็งแรง โผล่มาก็เพียงกระจกตาดำ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 64 สิงหาคม 2527
    ใน 2 ฉบับก่อน ผมได้เล่าให้ฟังถึงเรื่อง ผมร่วงธรรมชาติ ผมร่วงกรรมพันธุ์ ผมร่วงจากซิฟิลิส และโรคผมร่วงหย่อมไปแล้ว ท่านผู้อ่านหลายท่านอาจจะสงสัยว่าทำไมผมไม่กล่าวถึงโรคเชื่อราสักที ทั้งที่มีการโฆษณากันมาเหลือเกินทั้งทางหนังสือพิมพ์ วิทยุและโทรทัศน์ว่า “ท่านที่มีปัญหาผมร่วง อย่าปล่อยทิ้งไว้ท่านอาจจะเป็นเชื้อรา ควรจะรีบรักษา” แล้วก็จะบรรยายสรรพคุณของคุณของยาสระ ยาทา หรือยานวดผม ...