โรคตามระบบ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 58 กุมภาพันธ์ 2527
    ผู้ที่สนใจจะรักษาตนเองเบื้องต้น ในยามเจ็บป่วย ก่อนอื่นก็ควรจะรู้จักตัวเองในยามไม่เจ็บป่วยเสียก่อน คอลัมน์ “ร่างกายของเรา” จะมาคุยกับท่านเกี่ยวกับเรื่องความเป็นไปในร่างกายของตัวเราเองในยามปกติหรือเรียกให้หรูอีกนิดคือ ว่าด้วยวิชากายวิภาคสรีรวิทยาระดับชาวบ้าน ซึ่งเราจะเล่าสู่กันฟังเป็นตอนๆ ไป คำว่า หู ฟังดูง่ายๆ แต่หูก็เป็นอวัยวะที่น่าสนใจทีเดียว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 58 กุมภาพันธ์ 2527
    ในประเทศไทยซึ่งมีอากาศร้อนชื้น ปัญหาการติดเชื้อราที่ผิวหนังจัดเป็นปัญหาโรคผิวหนังที่พบบ่อยมากจึงควรจะทำความเข้าใจและรู้จักโรคนี้ให้ลึกซึ้ง เพื่อจะได้สามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อเป็นโรคนี้ขึ้นมาเชื้อราที่ทำให้เกิดโรคผิวหนังมีกี่ชนิด?เราพอจะแบ่งเชื้อราที่ทำให้เกิดโรคผิวหนังออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ชนิดพื้นผิว เชื้อราพวกนี้จะอยู่เฉพาะในผิวหนังชั้นตื้นๆ เท่านั้น เชื่อที่ทำให้เกิดโรคที่พบบ่อยมี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 57 มกราคม 2527
    ฉบับที่แล้วคอลลัมน์นี้โรคผิวหนังเราได้คุยกันถึงเทคนิคการถนอมผิวซึ่งเป็นตอนที่ 1 โดยได้กล่าวถึงผิวหนัง, โครงสร้าง, หน้าที่และการถนอมผิวไปแล้ว ฉลับนี้เราจะมาคุยกันในหัวข้อเรื่องโรคแพ้สัมผัสซึ่งเป็นตอนที่ 2 กันต่อไปโรคแพ้สัมผัส เป็นโรคผิวหนังที่พบบ่อยมาก ประมาณว่า ประมาณ 30 %ของผู้ป่วยที่มารับการรักษาจากปัญหาโรคผิวหนังมีปัญหาเรื่องโรคแพ้สัมผัสโรคแพ้สัมผัสคืออะไรโรคแพ้สัมผัสคือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 56 ธันวาคม 2526
    “สวัสดีอีกครั้งหนึ่ง ”หลังจากตอนที่หนึ่งได้จบลงไปอย่างกะทันหัน อาจจะทำให้ผู้อ่านหลายท่านเกิดอารมณ์ค้างและรู้สึกหงุดหงิดอยู่ในใจ บางท่านอาจจะต้องอ้าปากค้างอยู่หน้ากระจก และก็ไม่รู้จะทำอย่างไรต่อไปดี ผมจึงได้รีบจัดแจงเขียนตอนต่อมา เป็นตอนที่ 2 ซึ่งท่านกำลังอ่านอยู่ในขณะนี้ สำหรับในตอนนี้เราจะมีฝึกตรวจฟันกัน การตรวจดูฟันที่ว่านี้ สามารถตรวจดูด้วยตนเองก็ได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 56 ธันวาคม 2526
    ใช้วัตถุอะไรในการยึดตรึงกระดูกเนื่องจากร่างกายของคนเรามีคุณสมบัติในการขับและต่อต้านสิ่งแปลกปลอมทั่วไปที่ไม่ใช่ส่วนประกอบของตนเอง ดังนั้น เครื่องยึดตรึงกระดูกที่ใส่เข้าไปในร่างกาย จึงต้องเป็นวัสดุที่ร่างกายยอมรับและไม่เกิดปฏิกิริยาขับไล่ วัตถุพวกนี้ส่วนมากจะเป็นโลหะผสม เช่น ประกอบด้วย โครเมี่ยม โคบอล์ท และ มาลิบดีนั่ม เป็นต้นนอกจากคุณสมบัติดังกล่าวแล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 55 พฤศจิกายน 2526
    โปรดสังเกตที่มุมปากของเด็กทั้งสองในภาพถ้าคุณมีอาการเป็นแผลเปื่อยที่มุมปากทั้ง 2 ข้างแบบนี้ก็บอกได้เลยว่า เป็นโรคปากนกกระจอกสาเหตุ เกิดจาก ร่างกายขาดวิตามิน บี2การรักษา ก็ให้กินวิตามินบี 2 หรือวิตามินบีรวม 1 เม็ด วันละ 2-3 ครั้งจนกว่าจะหาย
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 55 พฤศจิกายน 2526
    "โอย! โอย! ไม่ไหวแล้ว ตายแน่ๆ" คุณผู้อ่านที่รักครับ หากเสียงร้องดังกล่าวนี้ดังอออกมาจากห้องทันตกรรม ในโรงพยาบาลสักแห่งหนึ่ง ลองทายซิครับว่า เป็นเสียงใคร ผมเชื่อว่าคุณผู้อ่านส่วนใหญ่คงจะคิดว่า เป็นเสียงคนไข้ที่กำลังทุกข์ทรมานด้วยความเจ็บปวด ปวดฟันกระมัง บางคนก็อาจจะบอกว่า หมอฟันนี่คงจะแผลงฤทธิ์อะไรกับคนไข้เข้าให้แล้ว เล่นซะร้องลั่นเชียว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 55 พฤศจิกายน 2526
    หมอผ่าตัดกระดูก"หมอผ่าตัดกระดูก" ในสายตาของคนทั่วไป มักจะมีภาพพจน์ในลักษณะของ "ช่างกระดูก" ผู้ใช้สิ่วใช้ค้อน แถมบางทีการผ่าตัดต้องยกแขนยกขาใช้กำลังกันจนเป็นที่เข้าใจว่า หมอกระดูกต้องมีรูปร่างสูงใหญ่กำยำเสียอีกความจริงแล้ว งานผ่าตัดของหมอกระดูกถึงจะเป็นงาน "ช่าง" ก็ไม่จำเป็นต้องใช้กำลังอย่างที่คิดเพราะว่าการรักษาที่ต้องอาศัยกำลังเหล่านี้จะสำเร็จหรือไม่นั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 54 ตุลาคม 2526
    (ตอน 3) คอพอกอย่างไร จึงจะไม่เป็นพิษคอพอกตอนที่ 3 นี้เป็นตอนสุดท้าย ก่อนที่ท่านผู้อ่านจะได้อ่านตอนนี้ก็ขอให้กลับไปดูแผนภูมิคอพอกที่ได้ลงตีพิมพ์ใน "หมอชาวบ้าน" ฉบับที่ 52 หน้า 24 อีกครั้ง คอพอกไม่เป็นพิษ นั้นแบ่งออกได้เป็น คอพอกแบบธรรมดา คอพอกประจำถิ่น คอพอกขาดฮอร์โมน คอพอกอักเสบเรื้อรัง หรือมะเร็งธัยรอยด์ คอพอกเหล่านี้ ชนิดที่พบได้บ่อยที่สุด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 53 กันยายน 2526
    ในเด็กเล็กๆ ที่ลิ้นเป็นฝ้าขาว มักเกิดจากเชื้อราขึ้นที่ลิ้น ฝ้านี้จะติดแน่น เขี่ยไม่ออก (ถ้าเป็นคราบบนนมติดที่ลิ้น ใช้ผ้า หรือสำลี เขี่ยออกได้ง่ายมาก) บางครั้งอาจพบหลังจากเด็กกินยาปฏิชีวนะรักษาไข้หวัด เจ็บคอ หรือโรคติดเชื้ออื่นๆ ลิ้นเป็นฝ้าขาวแบบนี้อาจพบในผู้ใหญ่ได้เช่นกันการรักษา ใช้ยาน้ำสีม่วงที่มีชื่อว่า "เจนเชียนไวโอเลต" ป้ายลิ้นวันละ 2-3 ครั้ง จนกว่าจะหาย ในคนสูงอายุ ...