โรคตามระบบ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 78 ตุลาคม 2528
    ฟันกับเหงือกเรื่องฟันกับเหงือกเป็นของคู่กัน คงไม่มีใครอยากให้ฟันของเราพูดกับเหงือกว่า “เหงือกจ๋าฟันลาก่อน”ฟัน เป็นอวัยวะของร่างกายที่เราใช้เคี้ยวอาหารตั้งแต่เล็กจนโต และเมื่อเรายังใช้มันอยู่เรื่อยๆ เราก็มักจะไม่ค่อยสนใจมันมากนัก ต่อเมื่อเราเริ่มรู้สึกปวดฟันขึ้นมา เราจึงเริ่มเห็นความสำคัญของฟันสำหรับเหงือกนั้น เรายิ่งไม่สนใจเข้าไปใหญ่ จะเห็นว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 78 ตุลาคม 2528
    ประชาชนทั่วไปสามารถที่จะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อยๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ70-80) จะรักษาได้ โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” จะนำเสนอท่านเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้การดูแลรักษาตนเองและผู้อื่นอาการหัวทึบ หัวตื้อ ลืมง่าย อาการหัวทึบ หรือสมองทึบเป็นอาการที่ได้ยินบ่อย ซึ่งมักจะมีความหมายว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 77 กันยายน 2528
    ต่อมไร้ท่อ-ฮอร์โมน การทำงานของเซลล์ร่างกายนั้นถูกควบคุมให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ ทั้งสองระบบนี้มีการทำงานเกี่ยวข้องกันอย่างแยกไม่ออก เปรียบเสมือนการสื่อสารนำคำสั่งของศูนย์บัญชาการไปยังอวัยวะต่างๆ เพื่อสั่งงานให้ส่วนของร่างกายนั้นๆ มีปฏิกิริยาตอบโต้กับสิ่งแวดล้อมภายนอก หรือความเปลี่ยนแปลงภายในร่างกายได้อย่างทันท่วงทีเหมาะสมการขยับเขยื้อนส่วนต่างๆ ของร่างกาย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 77 กันยายน 2528
    ประชาชนทั่วไปสามารถที่จะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อยๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80) จะรักษาได้ โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” จะนำเสนอท่านเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้การดูแลรักษาตนเองและผู้อื่นเวียนหัว มึนหัว หน้ามืด ครั้งที่แล้วได้พูดถึงขั้นตอนที่ 3 ในการหาและรักษาสาเหตุ อาการเวียนหัว มึนหัว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 76 สิงหาคม 2528
    จมูกคุณช่วยอะไรคุณบ้างถ้าคุณหายใจรูจมูกซ้าย จะไปสัมพันธ์กับสมองส่วนขวาถ้าคุณหายใจรูจมูกขวา จะไปสัมพันธ์กับสมองส่วนซ้ายไม่ว่าคุณจะประพันธ์บทเพลงสักบท หรือคือบัญชีตัวเลขมากมายนั้น จงอย่าลืมปรึกษา...จมูกที่น่ารักของคุณ (จะบี้, แบน, โด่ง, หัก, ยุบ ก็ไม่เป็นไร จมูกเรานิ)เทคนิคการหายใจอย่างง่ายๆ นี้ สามารถเปิดสวิตช์สมองซีกใดซีกหนึ่งของคุณให้ตื่นตัวได้ สมองซีกซ้ายของเรานั้นจะเกี่ยวข้องกับการพูด, ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 76 สิงหาคม 2528
    เพียงแค่น้ำและสบู่ก็ลดการเกิดโรคซิเกลโลซิส (โรคบิดชนิดไม่รู้ตัว) ได้ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนที่มีประสิทธิภาพสำหรับป้องกันโรคนี้ ประมาณ 6 เปอร์เซ็นต์ของประชากรในนครดักกา(เมืองหลวงของบังกลาเทศ) มักป่วยด้วยโรคซีเกลโลซิสเป็นประจำ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ โรคซิเกลโลซิสเป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียที่ชื่อว่า “ซิเกลล่า” เกิดกับลำไส้ใหญ่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 76 สิงหาคม 2528
    น้ำเหลือง หาได้น่ารังเกียจน้ำเหลือง (Lymph) เป็นคำไทยที่ฟังดูแล้วน่าขนพองสยองเกล้า เนื่องจากเรารับรู้เรื่องน้ำเหลืองในส่วนที่เกี่ยวข้องกับผีๆสางๆ หรือกับคนที่ตายไปแล้ว หรือไม่เช่นนั้นก็เกี่ยวกับเรื่องของบาดแผลอักเสบเรื้อรังที่น่ารังเกียจความจริงน่าจะมาทำความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่า น้ำเหลืองเสียใหม่โดยปกติในร่างกายของเราก็มีน้ำเหลืองอยู่ในตัว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 76 สิงหาคม 2528
    ประชาชนทั่วไปสามารถที่จะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อยๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80) จะรักษาได้ โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” จะนำเสนอท่านเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้การดูแลรักษาตนเองและผู้อื่นเวียนหัว มึนหัว หน้ามืดการตรวจรักษาอาการเวียนหัว มึนหัว แบบฉุกเฉิน และแบบไม่ฉุกเฉิน ตลอดจนวิธีใช้ยา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 76 สิงหาคม 2528
    เล็บขบคนเราใช้เล็บเพื่อการหยิบอะไรทีละน้อยๆ และเพื่อป้องกันอันตรายนอกจากนี้นิ้วจะมีเล็บไว้ป้องกันโรคและเป็นส่วนหนึ่งของผิวหนัง จึงถือได้ว่าเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีการเจริญเติบโต เล็บจึงยาวออกมาได้ เมื่อมีโรคเกิดกับเล็บจะไม่รู้สึกเจ็บปวด เพราะเล็บไม่มีเส้นประสาท นอกจากเป็นอันตรายต่อผิวหนังข้างเคียงโรคที่เกิดกับเล็บได้บ่อยและชาวบ้านเป็นกันมาก คือ เล็บขบ จึงขอเชิญฟังคำอธิบายของ นพ.สมเกียรติ ธาตรีธร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 76 สิงหาคม 2528
    การควบคุมการเคลื่อนไหวนักกีฬาที่เกิดอุบัติเหตุในการเล่นกีฬา จนกระดูกหักและต้องได้รับการผ่าตัดหรือเข้าเฝือก มักพบว่า หลังจากผ่าตัดใหม่ๆ หรือเข้าเฝือกแล้ว อาจเคลื่อนไหวส่วนนั้นไม่ได้ หรือเคลื่อนไหวด้วยความลำบาก ทั้งๆ ที่กระดูกก็ต่อกันดีแล้ว กล้ามเนื้อไม่ได้สูญเสียไป และข้อต่อก็ไม่ได้ติดขัดเลยบางครั้งอาจพบว่า ความรู้สึกบนผิวหนังก็เสียไปด้วย สาเหตุที่เป็นเช่นนี้ เนื่องจากอาจมีเส้นประสาทเล็กๆ ...