บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 292 สิงหาคม 2546
    สุขภาวะจากการเข้าถึงธรรมชาติคําว่า ธรรม หรือ ธัมม ที่ชาวอินเดียใช้กันแต่ก่อนพุทธกาล เป็นคำแปลกที่สะท้อนวิธีคิดของคนที่นั่นสมัยนั้น หมายถึง ธรรมชาติที่เป็นรูปธรรมก็ได้ นามธรรมก็ได้ ในทางที่ดีก็ได้ ในทางไม่ดีก็ได้ ในทางกลางๆ ก็ได้ ดังที่พระสวดว่ากุสลา ธัมมา =ธรรมที่เป็นกุศล (ก็ดี)อกุสลา ธัมมา=ธรรมที่เป็นอกุศล (ก็ดี)อพยากตา ธัมมา=ธรรมที่เป็นกลางๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 292 สิงหาคม 2546
    ปู่เป็นอัมพาต ๑๒ ปีปู่ของฉันเสียชีวิตผ่านมาได้ ๓ ปีแล้ว (ปี ๒๕๔๒) ด้วยโรคหลอดเลือดในสมองแตก ฉันจึงอยากเล่าประสบการณ์ที่ฉันได้สัมผัสเมื่อปู่ยังมีชีวิตอยู่ตอนที่พ่อของฉันเสียชีวิตด้วยโรคเบาหวาน ฉันอายุประมาณ ๑๒ ปี หลังจากนั้น ๑ ปีต่อมา ปู่ก็ได้เกิดหลอดเลือดในสมองด้านขวาแตกทำให้เป็นอัมพาตของแขนและขาซีกซ้าย ปกติปู่ป่วยเป็นโรคความดันเลือดสูงอยู่แล้ว แต่ด้วยความที่ไม่เอาใจใส่กับการกินยามากนัก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 292 สิงหาคม 2546
    "อี.ดี." ปัญหาทางเพศที่ผู้ชายกลัวที่สุดไม่มีอะไรในโลกนี้ที่จะทำให้ผู้ชายสูญเสียความเชื่อมั่นในตัวเองได้มากเท่ากับภาวะที่ร่างกายเกิดอาการ ที่เรียกกันว่า "มะเขือเผา" หรือ "นกเขา ไม่ขัน" แม้จะรู้แสนรู้ว่า "อดข้าวนะ ชีวาวาย ไม่ตายดอกหากอดเสน่หา" แต่ก็ไม่มีใครยอมรับความจริงข้อนี้ ได้อย่างหน้าชื่นตาบาน สิ่งที่น่าเป็นห่วงคือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 292 สิงหาคม 2546
    หยางเหว่ย : โรคมะเขือเผาในทรรศนะแพทย์แผนจีนมีทรรศนะการมองปัญหาโรคหย่อนสมรรถภาพทางเพศชาย ที่เหมือนกันและแตกต่างกันหลายประการ ระหว่างแพทย์แผนจีนและแพทย์แผนตะวันตก แพทย์แผนปัจจุบันเรียก อี.ดี. (erectile dysfunction) หมายถึง อวัยวะเพศชายไม่สามารถแข็งตัวได้นานพอที่จะปฏิบัติกิจกรรมทางเพศได้สำเร็จ แพทย์แผนจีนเรียก หยางเหว่ย หมายถึง อวัยวะเพศชายไม่สามารถตั้งตรง หรือตั้งตรงแต่ไม่แข็งตัว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 292 สิงหาคม 2546
    โรคพาร์กินสันชื่อภาษาไทยโรคพาร์กินสัน, โบราณเรียกว่า โรคสั่นสันนิบาตชื่อภาษาอังกฤษ Parkinson's disease (เรียกตามชื่อของนายแพทย์ Jame Parkinson ชาวอังกฤษที่ได้รายงานโรคนี้เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.๒๓๖๐)สาเหตุ ส่วนใหญ่พบในผู้สูงอายุ โดยไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด คนไข้จะมีการลดลงของจำนวนเซลล์สมองส่วนที่สร้างสารโดพามีน (เรียกว่า เซลล์ประสาทสีดำ หรือ substantia ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 292 สิงหาคม 2546
    โรคเกาต์ผมไปงานศพของแม่เพื่อนสนิท เป็นวิศวกรของราชการ พอไปถึงงานศพ เพื่อนผมชื่อชำนาญก็เดินมะย่องมะแย่งมาหาต้อนรับเพื่อนๆ ที่ไปแสดงความเสียใจในการจากไปของแม่เพื่อนด้วยวัย ๙๑ ปี ทุกคนบอกว่าแม่มีบุญจังเลย ลูกๆ มีการศึกษา และหน้าที่การงานที่ดีกันทุกคน ผมยังจำบรรยากาศเมื่อ ๔๐ ปีที่แล้วได้ดี เพราะเมื่อไรไปบ้านชำนาญจะต้องได้กินพุทรา ฝรั่ง เราจะเก็บกันจนเต็มกระเป๋าเท่าที่จะใส่กลับมาได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 292 สิงหาคม 2546
    ดัดตนดำรงกายให้อายุยืนอายุวัณโณสุขังพลัง ทุกท่านที่ไปทำบุญแล้วจะได้รับศีลรับพรจากพระ ตอนสุดท้ายพระจะสวดให้พรว่าตามผมเขียนมาข้างต้นนี้ คำให้พรนี้ผมเคยได้ดูโทรทัศน์นานแล้ว เมื่อครั้งลูกศิษย์นักแสดงไปรดน้ำดำหัว ส.อาสนจินดา อาจารย์ ส. ได้บอกกับลูกศิษย์ว่าทุกคนจำเป็นต้องได้รับพร เพื่อให้มีกำลังใจที่ดีที่จะทำงานของตนเองและส่วนรวมต่อไป คำว่า อายุวัณโณ ผมอาจจะแปลผิดก็ได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 292 สิงหาคม 2546
    ปราณยามะ (4) ในโลกนี้ ไม่มีใครหายใจผิดช่วงหลังนี้ ผมเริ่มสอนเรื่องลมหายใจ คำถามที่เจอทุกครั้งก็คือ "ดิฉัน/ผมหายใจผิด ทำอย่างไรดี" ก่อนที่บทความเรื่องปราณยามะนี้จะว่ายาวต่อไป ฉบับนี้ขออนุญาตทำความเข้าใจประเด็น "การหายใจผิด" เสียก่อน ในโยคะเบื้องต้นเวลาสอนการหายใจ ครูมักแนะนำให้นักเรียนรู้จักลมหายใจโดยอัตโนมัติของตนเอง การหายใจโดยอัตโนมัตินี้ ถ้าพูดตามทฤษฎี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 292 สิงหาคม 2546
    คนบ้าวิ่ง (๖)การออกกำลังกายที่ถูกวิธีจะทำให้ร่างกายแข็งแรง การวิ่งเพื่อสุขภาพแตกต่างไปจากการวิ่งเพื่อแข่งขัน การวิ่งเพื่อสุขภาพจะเน้นไปที่การทำให้ร่างกายแข็งแรง และไม่บาดเจ็บ...การวิ่งเพื่อสุขภาพจะเริ่มต้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป ยิ่งถ้าเป็นคนที่ไม่เคยวิ่งออกกำลังมาก่อน หรือไม่เคยวิ่งมานานแล้ว เช่น ผู้สูงอายุ และคนที่มีน้ำหนักตัวมากๆ นั้น ต้องเริ่มด้วยการเดินก่อน อาจเดินเรื่อยๆ เป็นเวลา ๑๕-๒๐ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 292 สิงหาคม 2546
    ได้ฉายาว่า "สมุนไพรหมื่นปี" มีสรรพคุณครอบจักรวาลถิ่นกำเนิดอยู่เมืองจีน แต่ด้วยชื่อเสียงที่มีความหมายลึกซึ้งถึงความมหัศจรรย์ในด้านอายุวัฒนะ จนได้ฉายาว่า "สมุนไพรหมื่นปีไ ทำให้เผยแพร่ไปทั่วโลก ทั้งเอเชีย ยุโรป อเมริกา คุณค่าของสารสำคัญมากกว่า ๑๕๐ ชนิด ทำให้สมุนไพรหมื่นปีนี้มีสรรพคุณครอบจักรวาลจริงๆ ชาวจีนใช้เป็นยารักษาโรคมานานเกือบ ๒,๐๐๐ ปี ...