-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
296
ธันวาคม 2546
การกินอาหารและข้อปฏิบัติสำหรับคนเป็นโรคเบาหวานถาม : ภักดี/อุดรธานีผมมีปัญหาขอรบกวนคุณหมอ ให้ความกระจ่างผมด้วย ผมอายุ ๔๗ ปี ไปตรวจเบาหวานครั้งแรก โดยอดอาหารหลังเที่ยงคืน เพราะต้องตรวจตอน ๘ โมงเช้า ผลตรวจเลือดได้ ๑๒๖ mg/dl หมอบอกให้งดของหวานและอาหารจำพวกแป้ง ครั้งที่ ๒ อีก ๑ เดือนก็นัดให้มาตรวจอีก ผลเลือดได้ ๙๕ mg/dl ครั้งที่ ๓ อีก ๒-๓ เดือน ก็มาตรวจผลเลือดจะได้ (๘๕-๙๐-๑๐๒-๙๕ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
296
ธันวาคม 2546
งูพิษ-สัตว์มีพิษถาม : อารีวรรณ/ราชบุรีบ้านดิฉันอยู่ในสวน มีสัตว์มีพิษหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็น ตะขาบ แมงป่อง และงู ชุกชุมมากในฤดูน้ำหลากจะพบมากเป็นพิเศษ บางครั้งคนในละแวกบ้านถูกกัดตอนกลางคืน ยังไม่รู้เลยว่าถูกสัตว์ชนิดใดกัด สังเกตได้อย่างไรว่าถูกสัตว์มีพิษชนิดใดกัดตอบ : กองบรรณาธิการสัตว์มีพิษชนิดต่างๆ บางครั้ง ถ้าดูเผินๆ อาจจะมีพิษและไม่มีพิษ ขอเริ่มด้วยเรื่องของงูก่อนงูเห่า หัวมน คอสั้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
296
ธันวาคม 2546
การตายอย่างมีสุขภาวะหมอชาวบ้านฉบับธันวาคม ๒๕๔๖ มีเรื่องเด่นในฉบับคือเรื่อง "ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะใกล้ตาย" โดยอาจารย์ พญ.สุมาลี นิมมานนิตย์ อดีตหัวหน้าภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ขณะนี้มีข้อเขียนเกี่ยวกับการตายมากขึ้น โดยเฉพาะจากอาจารย์พุทธศาสนาสายทิเบต ซึ่งเป็นเรื่องที่ดี อาจารย์สุมาลีจุดเด่นที่เป็นแพทย์ที่เห็นการตายมามาก และเป็นผู้ที่สนใจในธรรมปฏิบัติ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
296
ธันวาคม 2546
ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะใกล้ตายทำไมจึงต้องสนใจเรื่องความตายความตายเป็นสิ่งที่ทุกคนเคยได้ยินได้ฟัง และเป็นสิ่งที่ต้องเกิดขึ้นกับทุกคนไม่วันใดก็วันหนึ่ง เมื่อใดก็เมื่อนั้น แต่คนทั่วไปส่วนใหญ่ก็ยังคงไม่สนใจและไม่รู้จักว่าความตายคืออะไร หรือมิเช่นนั้นก็ไม่รู้จักความตายตามจริง หากแต่รู้จักตามภาพที่ตนเองจินตนาการขึ้น ซึ่งมักจะทำให้รู้สึกกลัวความตายมากขึ้นท่านพุทธทาสภิกขุได้กล่าวไว้ในเรื่อง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
296
ธันวาคม 2546
ประสบการณ์การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายผู้ป่วยระยะสุดท้าย หมายถึง ผู้ป่วยที่มีอาการของโรคลุกลาม จนถึงขั้นรักษาไม่หาย และไม่มีแผนการรักษาใดๆ อีกต่อไป นอกจากรับการดูแลแบบประคับประคองตามอาการจนถึงระยะสุดท้าย ผู้ป่วยระยะสุดท้ายและญาติมีความต้องการอยู่ในโรงพยาบาลให้นานที่สุด โดยมีความคาดหวังว่าผู้ป่วยอาจ มีอาการดีขึ้นบ้าง หรือญาติผู้ป่วยอาจขาดความมั่นใจในการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
296
ธันวาคม 2546
อีสุกอีใสในช่วงก่อนและหลังสอบไล่ปลายปี (มกราคมถึงเมษายน) มักจะมีการระบาดของ "ไข้-ออกผื่น" ได้แก่ หัด หัดเยอรมัน อีสุกอีใส สำหรับอีสุกอีใสเนื่องจากยังมีการฉีดวัคซีนป้องกันโรคนี้กันน้อยมาก เพราะยังไม่ได้จัดเป็นวัคซีนพื้นฐาน (ซึ่งได้แก่ หัด หัดเยอรมัน ไอกรน คอตีบ บาดทะยัก โปลิโอ วัณโรค ตับอักเสบจากไวรัสบี ไข้สมองอักเสบ) ดังนั้นจึงมักยังพบมีการระบาดของโรคนี้ตามโรงเรียน สถาบันการศึกษา ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
296
ธันวาคม 2546
โลกไม่สดใส จิตใจหดหู่จากเหตุการณ์ผู้ป่วยแขวนคอตายในโรงพยาบาลด้วยกางเกง และใส่เสื้อแทนกางเกง เพราะอายกลัวว่าผู้ที่มาพบจะมองแล้วอุจาดตา หลายท่านแม้แต่สื่อต่างๆ พยายามจะโยงเข้าไปกับเรื่องโรคไข้หวัดมรณะ และบางคนก็โยงเข้ากับเรื่อง ๓๐ บาท ทนายสาวได้ถามขึ้นในที่ประชุมประจำเดือนของจังหวัดและแสดงความสนใจต่อปัญหานี้ จากนั้นไม่นานก็มีข่าวแขวนคอตาย อีก ๒ รายปัญหานี้ที่บ้านผมเองก็สนใจมานาน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
296
ธันวาคม 2546
ธรรมะช่วยรักษาใจในทุกยามดิฉันเริ่มป่วยเป็นโรคที่เกี่ยวกับไขสันหลังอักเสบมาตั้งแต่กลางปี ๒๕๓๑ มีอาการอัมพาตครึ่งตัว ไล่จากปลายเท้าทั้ง ๒ ข้าง ขึ้นมาจนถึงกลางอก ประสาทตาย ขาอ่อนแรง จนกระทั่งสั่งการไม่ได้ แม้แต่จะกระดิกนิ้วเท้า ปัสสาวะไม่ออก เข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลได้เพียง ๑ สัปดาห์ หมอก็อนุญาตให้กลับไปพักที่บ้าน ด้วยเหตุที่ว่าโรคที่เกี่ยวกับระบบประสาทต้องใช้เวลาฟื้นตัวนาน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
296
ธันวาคม 2546
ดัดตนแก้ลมต้นขา สันนิบาต และตามัวดวงตาเป็นอวัยวะที่สำคัญส่วนหนึ่งของร่างกาย ถ้าดวงตาไม่บอดตั้งแต่กำเนิดก็ควรจะดูแลรักษาไว้ไม่ให้มืดมัวได้ ถ้าไม่มีสิ่งผิดปกติกับดวงตาแล้ว คนเรามักจะไม่ค่อยสนใจเท่าไหร่ เหมือนผมเมื่ออายุยังน้อย เรียนอยู่ชั้นประถม ก. ซึ่งสมัยนี้ไม่มีแล้ว สมัยนั้นไม่มีไฟฟ้าใช้ ต้องจุดตะเกียงน้ำมันก๊าด พอเกิดสงครามญี่ปุ่น น้ำมันก๊าดแพงก็ใช้น้ำมันมะพร้าวหรือน้ำมันหมูแทน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
296
ธันวาคม 2546
ปราณยามะ (8)เมื่ออ่าน เมื่อฝึกมาถึงฉบับนี้ เราคงเห็นความแตกต่างระหว่างเทคนิคโยคะ ๒ ชนิด อาสนะกับปราณยามะ การฝึกอาสนะนั้น เป็นรูปธรรมค่อนข้างชัดเจน ให้ประโยชน์กับผู้ฝึกในระดับหนึ่ง ส่วนการฝึกปราณยามะเป็นนามธรรม เรียนรู้ และฝึกได้ยากกว่า ปราณยามะมีประโยชน์มาก โดยเฉพาะการพาผู้ฝึกไปสู่สมาธิ อันเป็นเป้าหมายแห่งโยคะ เมื่อเข้าใจดังนี้ ผู้ฝึกก็จะมีความพิถีพิถันในการฝึกเทคนิคโยคะทั้ง ๒ ...