บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 60 เมษายน 2527
    การวิ่งมีหลายชนิด เช่น วิ่งเปี้ยว, วิ่งผลัด, วิ่งเร็ว และวิ่งราว การวิ่งแต่ละอย่างย่อมมีเทคนิคแตกต่างกันออกไป วิ่งเปี้ยว, วิ่งผลัด ต้องอาศัยความเร็วขอฝีเท้าและความแม่นยำของมือ (ในการส่งผ้าหรือไม่วิ่ง) ส่วนผู้ที่วิ่งเร็วได้ดี อาจเป็นนักวิ่งราวที่มีความสามารถ อย่างไรก็ดี บทความนี้จะไม่สนับสนุนให้ผู้อ่านไปวิ่งราว ด้วยว่าเสี่ยงต่อคุกตะรางเกินไปการวิ่งเพื่อสุขภาพก็ย่อมต้องมีหลักการอยู่บ้าง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 60 เมษายน 2527
    215. การให้อาหารเด็กมีเด็กอายุ เกิน 10 เดือนจำนวนมากที่ชอบกินข้าวสวยมากว่าข้าวต้ม ทั้งนี้อาจเป็นเพราะเด็กเริ่มอาหารเสริมมาตั้งแต่วัย 4-5 เดือนจนกระทั่งระบบย่อยของเด็กทำงานได้ดี จึงกินอาหารเหมือนผู้ใหญ่ได้เมื่อเด็กกินอาหารร่วมกับผู้ใหญ่ได้ คุณแม่จะมีเวลาว่างมากขึ้น เพราะไม่ต้องทำอะไรให้ลูกกินเป็นพิเศษเหมือนเมื่อก่อน เวลาที่มีมากาขึ้นควรใช้ไปในการเล่นกับลูกและฝึกลูกให้แข็งแรง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 60 เมษายน 2527
    ทุกคนและสัตว์มีชีวิตอยู่ได้ก็ด้วยอาหาร ว่ากันตรงๆ ก็คือ ต้องกินนั่นเอง ถ้ากินไม่ได้หรือไม่ได้กินก็ต้องตายเป็นที่รู้ๆ กันอยู่ แต่ถ้ากินได้กินดี แล้วไม่ยอมถ่ายสักทีก็จะตายอีก การถ่ายจึงเป็นของคู่กับการกิน อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้สาเหตุแห่งการถ่ายไม่ได้หรือไม่ออกนั้น เราเรียกกันว่า “ท้องผูก” ได้แก่อึแข็งนั่นเอง ต้นเหตุของท้องผูกมีหลายประการ เช่น กินอาหารไม่มีการอาหาร ไม่ชอบกินผักผลไม้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 60 เมษายน 2527
    เรากิน “ข้าว” ทุกๆ วัน แม้บางวันอาจจะเบื่อหันไปกินก๋วยเตี๋ยวแทน แต่เราก็ปฏิเสธไม่ได้ว่า อาหารหลักของคนไทยเราหนีไม่พ้นข้าวจริงๆและถ้ามาพูดถึงใช้ข้าวเป็นอาหารกันแล้ว หลายคนคงชิงกันพูดนับตั้งแต่ข้าวสวยธรรมดา หรือข้าวสวยแล้วกับข้าวอยู่อีกเป็นสิบๆ ชนิด ข้าวตอก ข้าวตัง ข้าวทอดแผ่นๆ ราดหน้าด้วยน้ำตาล ข้าวหมัก ข้าวหลาม ข้าวยำ ข้าวเหนียว ฯลฯ แต่ช่างเหมือนคำโบราณ “หญ้าปากคอก” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 60 เมษายน 2527
    ฤดูร้อนมาถึงอีกแล้ว สำหรับกรุงเทพฯ ฤดูกาลในปีหนึ่งๆ นั้น แทบจะไม่แตกต่างกันเลย นอกจากจะมีฝนตกเป็นบางครั้งในฤดูฝนแล้ว อากาศก็ร้อนอบอ้าวเกือบทั้งปี ทั้งนี้เพราะสิ่งแวดล้อมในและรอบๆ กรุงเทพฯถูกทำลาย ทำให้ขาดความสมดุลของธรรมชาติไป อากาศที่ร้อนอบอ้าว เช่นนี้ทำให้เราอดคิดถึงแตงโมไม่ได้ ถ้าได้กินแตงโมสักชิ้นสองชิ้นก็คงช่วยดับร้อนแก้กระหายได้วิเศษยิ่งแตงโมมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Citrullus vulgaris Schrad ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 60 เมษายน 2527
    ในฉบับที่แล้วได้เล่าว่าหูหนวกที่เกิดจากความบกพร่องของพันธุกรรมมีกว่า 70 ชนิด ยีนที่เกี่ยวข้องกับการได้ยินคงจะมีจำนวนนับร้อยยีน และโรคกรรมพันธุ์ที่ทำให้หูตึงหรือหูหนวกมีการถ่ายทอด 3 แบบ คือแบบที่คนหูหนวกต้องได้รับพันธุ์ผิดปกติจากทั้งพ่อและแม่ แบบที่คนหูหนวกได้รับพันธุ์ผิดปกติจากพ่อหรือแม่ และแบบที่คนหูหนวกมักเป็นที่ชายซึ่งได้รับพันธุ์ผิดปกติมาจากแม่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 60 เมษายน 2527
    “ประชาชนทั่วไปสามารถจะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อยๆ (ร้อยละ 70-80) จะรักษาได้โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือที่พิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” มีเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้ด้วยตนเองจนดูแลรักษาตนเองและผู้อื่นได้”การตรวจประสาทและกล้ามเนื้อ ดังที่ได้กล่าวถึงไปแล้วบ้างในฉบับก่อนๆ ยังต้องรวมถึงการตรวจที่สำคัญอื่นๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 58 มีนาคม 2527
    ทุกอย่างย่อมมีทั้งด้านดีและด้านเสีย การทำความเข้าใจทั้งสองด้านย่อมทำให้สามารถแก้ไขและป้องกันเหตุการณ์ต่างๆ ได้ทันท่วงที ยาก็เช่นเดียวกัน หากเรารู้แต่ด้านดี โดยไม่รู้ด้านเสีย (ด้านอันตราย) ย่อมเกิดโทษมากกว่าคุณหากท่านผู้อ่านต้องการถามปัญหาเรื่องยาผ่านคอลัมน์นี้ โปรดวงเล็บมุมซอง “108 ปัญหายา” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 58 มีนาคม 2527
    ตำราแพทย์แผนโบราณกาลวางหลักไว้ว่า สมุฏฐานที่ทำให้เกิดโรค มีส่วนสัมพันธ์กับ ฤดูที่หมุนเวียนไปในปีหนึ่งๆ ด้วย ท่านว่าฤดู คือ อากาศหรืออุณหภูมิภายนอกร่างกายเปลี่ยนแปลง เป็นฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว ปีนึ่งมีสามฤดู ฤดูละ 4 เดือน นับตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เดือน 4 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 จัดเป็นฤดูร้อน หรือคิมหันตฤดู ตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เอน 8 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 จัดเป็นฤดูฝนหรือ วสันตฤดู ตั้งแต่แรง 1 ค่ำ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 59 มีนาคม 2527
    ชายคนนี้อยู่ดีๆ มีอาการเป็นไข้ตัวร้อน ต่อมามีจุดแดงๆ เกิดขึ้นตามผิวกาย พร้อมกับมีเลือดออกตามไรฟัน ...