บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 66 ตุลาคม 2527
    บวบหอม บวบเป็นอาหาร (ผัก) ประจำวันชนิดหนึ่งที่หลาย ๆ ท่านรู้จักกันดี แต่อาจจะไม่ทราบว่าบวบนั้นมีประโยชน์อะไรบ้าง นอกจากจะเป็นอาหารที่มีรสชาติอร่อยแล้ว บวบ (ทุกส่วนของต้นบวบ) ยังใช้เป็นยาสมุนไพรที่มีสรรพคุณในการรักษาโรคได้หลายโรคบวบเป็นอาหารจัดอยู่ในพวกยิน (เย็น) ถ้านำมาผัดหรือต้มกิน จะทำให้ชุ่มคอ เป็นอาหารที่เหมาะสำหรับฤดูร้อน จะช่วยขับร้อน จะช่วยระบายอีกด้วย ถ้ากินเป็นประจำ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 66 ตุลาคม 2527
    รู้ไว้ได้ประโยชน์ขนมปัง (การเก็บรักษา)ขนมปังจะมีรสชาติและมีคุณภาพเหมือนเพิ่งทำเสร็จใหม่ ๆ ได้อย่างมากเป็นเวลาเพียงวันเดียว ถ้าจะเก็บค้างคืนควรห่อไว้ในเศษผ้าสีขาวสะอาดและเก็บไว้ในตู้เย็นตรงด้านล่างสุดเมื่อจะนำขนมปังมารับประทานในวันรุ่งขึ้น ควรหยิบขนมปังออกจากตู้เย็นมาวางไว้ข้างนอกก่อนเสริฟ ประมาณ 1 ชั่วโมงครก (วิธีใช้)ถ้าคุณซื้อครกหินมาใหม่ จะมองดูขรุขระไม่ลื่นเหมือนครกเก่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 66 ตุลาคม 2527
    โอพีดีแพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ในสถานบริการสาธารณสุข จะมีการใช้ภาษาที่เข้าใจในหมู่หมอด้วยกันเอง หากได้ทำความรู้จัก “ภาษาหมอ” ก็จะทำให้เราสื่อสารกับหมอได้ดียิ่งขึ้น คอลัมน์นี้จึงขอแนะนำ “ภาษาหมอ” เดือนละคำสองคำมาจากคำภาษาอังกฤษว่า OPD ซี่งย่อมาจากคำว่า “Out-Patient-Department” (out-patient ผู้ป่วยนอก, department แผนก ,ตึก ) หมายถึง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 66 ตุลาคม 2527
    ปราชญ์นิรนามกล่าวไว้ว่า “ความรักทำให้โลก (เบี้ยว ๆ บูด ๆ ลูกนี้) หมุนไปได้ ความใคร่ทำให้การหมุนนี้มีพลัง”ในตอนที่แล้ว เราได้พูดกันถึงเรื่องการวิ่งว่าเกี่ยวข้องกับชีวิตเพศอย่างไร หลักฐานที่มีอยู่แสดงว่าการวิ่งในขนาดที่พอเหมาะทำให้ชีวิตเพศดีขึ้นหรือใครที่ยังข้องใจลองฟังเรื่องจริงที่ไม่อิงนิยายนี้ดูเรื่องนี้เล่าโดย นายแพทย์อุดมศิลป์ ศรีแสงนาม จิตแพทย์นักวิ่งชื่อดัง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 66 ตุลาคม 2527
    ชั้นนอกสุดของร่างกายเราเป็นเปลือกเรียบ คลุมอวัยวะภายในร่างกายทั้งหมดเอาไว้ เราเรียกอวัยวะนี้ว่าผิวหนัง ส่วนที่รวมเรียกว่าผิวหนังนั้นยังหมายถึงสิ่งที่งอกออกจากผิวหนังด้วยเช่น ผม เล็บ และขน ผิวหนังเป็นอวัยวะที่ถือได้ว่าใหญ่ที่สุดในร่างกายของเรา ถ้าเอาผิวหนังทั้งตัวมาแผ่รวมกันเราจะได้ผิวหนังผืนใหญ่มากกว่า 20,000 ตารางเซนติเมตร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 66 ตุลาคม 2527
    ก่อนที่จะอ่านเรื่องราวของโรคนี้ ท่านควรจะทราบก่อนว่า ต้อเนื้อคืออะไร ?“ต้อเนื้อ” เป็นโรคที่เกิดกับตาชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมที่ยื่นจากขอบตาดำเข้าไปบนตาดำ (ดังรูปที่ 1)ตำแหน่งที่พบมากคือด้านในหรือด้านหัวตา ทั้งนี้เชื่อว่าต้นเหตุที่จะทำให้เกิด (ซึ่งจะกล่าวต่อไป) กระทบบริเวณหัวตาได้มากกว่าส่วนหางตาอีกทั้งบริเวณหัวตามีเส้นเลือดมาหล่อเลี้ยงมาก เป็นอีกเหตุผลหนึ่ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 66 ตุลาคม 2527
    ประชาชนทั่วไปสามารถจะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อย ๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80 ) จะรักษาได้โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือที่พิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” มีเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้ด้วยตนเองจนดูแลรักษาตนเองและผู้อื่นได้”อาการปวดหัว เป็นอาการที่พบบ่อยที่สุดอาการหนึ่ง มนุษย์เราทุกคนคงเคยปวดหัวมาแล้วทั้งนั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 66 ตุลาคม 2527
    คนทั่วไปมีจำนวนไม่น้อยที่ปกติไม่ได้ออกกำลังกาย และโดยเฉพาะเมื่อมีโรคประจำตัว ยิ่งไม่กล้าออกกำลังกายเข้าไปอีก เพราะคิดว่า จะมีผลกระทบกระเทือนต่อสุขภาพมากขึ้นผู้เขียนเขียนบทความชิ้นนี้เพื่อเสนอแนวทางการออกกำลังกายสำหรับคนเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน เพราะเห็นว่า ผู้ป่วยด้วยโรคทั้งสองมีจำนวนมาก อย่างไรก็ตามขอให้เข้าใจว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 65 กันยายน 2527
    ว่ากันเรื่องผมร่วงมาแล้ว 2 ฉบับ เริ่มตั้งแต่สาเหตุของผมร่วง เช่นผมร่วงตามธรรมชาติ ผมร่วงตามกรรมพันธุ์ และผมร่วงจากสาเหตุอื่น ๆ เช่น ผมร่วงจากซิฟิลิส ผมร่วงเป็นหย่อม ผมร่วงจากเชื้อรา และผมร่วงจากการถอนผมสำหรับฉบับนี้ก็จะเป็นเรื่อง ไข้หัวโกร๋น ที่ทำให้ผมร่วง สาเหตุจะเป็นเพราะถูกผีหลอกหรือเปล่า ก็เชิญติดตามอ่านกันต่อไป และปิดท้ายด้วยผมร่วงหลังคลอดไข้หัวโกร๋น (Tellogen effluvium) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 65 กันยายน 2527
    ทุกอย่างย่อมมีทั้งด้านดีและด้านร้าย การทำความเข้าใจทั้งสองด้านย่อมทำให้สามารถแก้ไขและป้องกันเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ทันท่วงที ยาก็เช่นเดียวกัน หากเรารู้แต่ด้านดี โดยไม่รู้ด้านเสีย (ด้านอันตราย)ย่อมเกิดโทษมากกว่าคุณ หากท่านผู้อ่านต้องการถามปัญหาเรื่องยาผ่านคอลัมน์นี้โปรดวงเล็บมุมซองว่า “108 ปัญหายา ” ...