บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 67 พฤศจิกายน 2527
    พูดถึงหัวผักกาดแดง หรือโสมน้อย หลายคนคงไม่คุ้นหู แต่ถ้าพูดว่าหัวแครอท หลายคนคงร้องอ๋อ !หัวผักกาดแดงมีต้นกำเนิดอยู่ที่บริเวณที่ราบสูงอันหนาวเย็นและแห้งแล้วในยุโรป ในเมืองไทยปลูกมากทางภาคเหนือ เพราะมีอากาศหนาวเย็นหัวผักกาดแดงเป็นผักที่ชาวตะวันตกถือว่าเป็นอาหารชั้นดี โดยเฉพาชาวฮอลันดา ได้จัดเป็นผักประจำชาติ โดยมีประวัติศาสตร์ตอนหนี่งว่า ในวันที่ 26 พฤษภาคม ปี 1794 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 67 พฤศจิกายน 2527
    แม้ท่านอาจไม่เคยเห็นงูสวัด ก็น่าจะเคยได้ยินมาบ้างว่ามันเป็นโรคร้าย ถ้าเป็นข้ามสันหลังหรือรอบตัวละก้อถึงตายเชียว หากท่านไม่ทราบว่างูสวัด งูตวัด หรืองูกระหวัด คืออะไร ก็น่าจะอ่านเรื่องของ น.พ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพ ใน “หมอชาวบ้าน” ฉบับเดือนพฤษภาคม 2523 ซึ่งมีภาพถ่ายสีประกอบชัดเจน เผื่อท่านหรือผู้เป็นที่รักถูกมันกระหวัดเข้าบ้าง จะได้ไม่ตกใจ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 67 พฤศจิกายน 2527
    ในบรรดาสัตว์บกทุกชนิดที่วิ่งอยู่บนเท้า คงมีแต่ม้าที่มีเกือกม้าและมนุษย์เท่านั้นที่สวมใส่รองเท้าในสังคมปัจจุบัน การใส่รองเท้าเป็นการแสดงถึงความศิวิไลซ์ และเป็นการช่วยป้องกันอันตรายที่อาจเกิดกับฝ่าเท้าได้ เช่นเสี้ยนหนามตำ เศษกระจกบาด นอกจากนั้นยังหลีกเลี่ยงจากการไชเข้าผิวหนังของพยาธิชนิดต่าง ๆ ได้การใส่รองเท้าจึงถือว่ามีประโยชน์อย่างยิ่ง แต่ทว่า การที่มนุษย์พยายามเปลี่ยนแปลงธรรมชาติ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 67 พฤศจิกายน 2527
    ในสองตอนที่แล้วได้พูดถึงว่าการสอบถามบรรดานักวิ่ง ในเรื่องชีวิตเพศให้ผลออกมาอย่างไร และมีฮอร์โมนกันสารกับสารเคมีตัวใดที่เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ขึ้นในตัวนักวิ่งบ้าง วันนี้เราจะพูดถึงเรื่องเบา ๆ คือในแง่ศิลปปรัชญามากกว่าวิทยาศาสตร์ นักวิ่งมองตนเองว่าเป็นนักรักไปด้วยได้อย่างไรนักวิ่งมีความฟิตสูงความฟิตในทีนี้ไม่ใช่ฟิตแบบเตะปี๊ปดัง แต่หมายถึงความแข็งแรงของร่างกายกิจกรรมทางเพศ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 67 พฤศจิกายน 2527
    สภาพแวดล้อม 238.ป้องกันอุบัติเหตุอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นบ่อยกับเด็กวัยใกล้ 1 ขวบ มี 3 อย่างคือ ตกจากที่สูง ถูกของร้อน และกินของแปลกปลอมเข้าไปอุบัติเหตุตกจากที่สูงมีมากเพราะเด็กวัยนี้รู้จักปีนป่ายได้แล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 67 พฤศจิกายน 2527
    “ประชาชนทั่วไปสามารถจะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อย ๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80 ) จะรักษาได้โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือที่พิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” มีเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้ด้วยตนเองจนดูแลรักษาตนเองและผู้อื่นได้” ฉบับที่แล้วผู้เขียนได้กล่าวถึงอาการปวดหัวของคนไข้แบบฉุกเฉิน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 67 พฤศจิกายน 2527
    การเดินนั้นนับเป็นการเริ่มต้น ก้าวแรกของการวิ่ง...ไปสู่ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า แข็งแรงกว่า ที่ปลอดภัยที่สุด ถูกต้องตามหลักวิชาการเวชศาสตร์การกีฬามากที่สุด เรื่องป่วยน้อยที่สุด เจ็บปวดน้อยที่สุด และที่สำคัญคือเป็นการออกกำลังกายที่ง่ายที่สุดหลังจากที่ท่านได้ให้คะแนนและรวมคะแนนตัวเองในแบบประเมินระดับความฟิตของสุขภาพใน “หมอชาวบ้าน” ฉบับที่ 66 (ฉบับที่แล้ว) หน้า 90-92 แล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 186 ตุลาคม 2527
    ดัดตนแก้ไหล่และสะโพกขัดเมื่อวันที่ 25 สิงหาคมที่ผ่านมา มีคนไข้ชายรายหนึ่งเป็นข้าราชการเกษียณอายุ ได้มาให้หมอนวดตาบอดที่ร้านของผมนวด เขาบอกว่าเมื่อประมาณหกเดือนที่แล้วเขาได้ล้มลงในท่าคุกเข่า แขนทั้งสองข้างกระแทกไปที่พื้นอย่างแรง ทำให้ยกแขนไม่ขึ้นถึงสามเดือนและปวดไหล่และโคนแขนมาก พร้อมทั้งเข่าบวมด้วยเขาให้ผมดูกล้ามเนื้อที่โคนแขนซ้ายและโคนขาข้างสะโพกขวาซึ่งลีบเล็กลงไปกว่าปกติอย่างเห็นได้ชัด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 65 ตุลาคม 2527
    เช้านี้ มีคุณป้าคนหนึ่ง เป็นลูกค้าประจำที่ร้าน ได้มาซื้อยาแกเคยเป็นริดสีดวงทวารหนักมาก่อน เมื่อถูกถามว่าริดสีดวงทวารที่เป็นอยู่เป็นอย่างไรบ้าง แกก็เล่าใหญ่เลยว่า“ นี่ ลูกเอ๊ย! ป้าจะเล่าให้ฟังไว้เป็นวิทยาทานนะ คือว่าตอนที่น้ำท่วมหนักปีกลายโน้น ป้าเป็นเริมที่บริเวณช่องคลอด และยังเป็นริดสีดวงทวารเจ็บมากที่สุดเท่าที่เคยเป็นมา นี่ป้าก็อายุ 60 กว่าเข้าไปแล้ว เพิ่งจะเป็นครั้งนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 66 ตุลาคม 2527
    นอกจากความไม่สมดุลระหว่าง จำนวนบุคลากรทางการแพทย์กับจำนวนประชาชนแล้ว ภาวะสังคมและเศรษฐกิจในปัจจุบันยังทำให้ประชาชนจำนวนมากไม่สามารถใช้บริการของสถานพยาบาลได้ทุกครั้ง “การดูแลตนเอง หรือดูแลซึ่งกันและกัน”เมื่อมีความผิดปกติบางอย่าง จึงมีความสำคัญที่จะช่วยแก้ปัญหาเฉพาะหน้าหรือบรรเทาภาวะวิกฤตก่อนที่จะไปสถานพยาบาลได้ ...