-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
289
พฤษภาคม 2546
หวัดมรณะ สุขภาพเหนือเศรษฐกิจโรคหวัดมรณะ หรือ ซาร์ส (severe acute respiratory syndrome) ระบาดทำให้เห็นความจริงที่สำคัญที่บางครั้งเราไม่ค่อยสำนึก นั่นคือ สุขภาพมีความสำคัญเหนือเศรษฐกิจ เพราะกระทบกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งหมด กระทบจีดีพี ถ้าเอาเศรษฐกิจเป็นตัวตั้ง เช่นปิดบังไว้เพราะกลัวกระทบการท่องเที่ยว ผู้คนก็จะล้มตายเป็นเบือโลกขณะนี้เอาเศรษฐกิจเป็นความสำคัญสูงสุด ทำให้แย่งชิงกัน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
289
พฤษภาคม 2546
เคล็ดลับ จัดการลูกอ้วนจากการศึกษาที่ผ่านมาชี้ว่า เด็กที่อ้วนมักเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่อ้วน โดยเด็กที่อ้วนในระยะเข้าสู่วัยรุ่นจะยิ่งมีความเสี่ยงสูงที่จะกลายเป็นผู้ใหญ่อ้วน จากผลการสำรวจภาวะสุขภาพและโภชนาการในประเทศสหรัฐอเมริกาพบว่า ร้อยละ ๑๐-๒๐ ของทารกที่อ้วนจะยังคงอ้วนเมื่อเข้าสู่วัยเด็ก ร้อยละ ๔๐ ของเด็กที่อ้วนจะยังคงอ้วนในวัยรุ่น และร้อยละ ๗๕-๘๐ ของวัยรุ่นที่อ้วนจะกลายเป็นผู้ใหญ่อ้วน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
289
พฤษภาคม 2546
ดัดตนแก้ปวดท้องแก้ข้อเท้า แก้ลมไส้และสันหลังกุมภาพันธ์ผันมาสู่ฤดูร้อน ทินกรเรืองแรงส่องแสงจ้า เป็นฤดูเกี่ยวข้าวของชาวนา ขนข้าวปลามาบ้านสำราญใจ พอย่างเข้าฤดูร้อนที่โรงเรียนวัดปากท่อจะให้นักเรียนร้องเพลงนี้ก่อนจะปล่อยกลับบ้านตอนเย็น สมัยยังเรียนอยู่ชั้น ก. ไก่ ประมาณกว่า ๖๐ ปี มาแล้ว ตามตำราแพทย์แผนไทยได้ จัดฤดูไว้ คือ ฤดูร้อนเริ่มตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๔ ไปถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
289
พฤษภาคม 2546
ดีใจที่เป็นมะเร็ง ...เพราะสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี ...เพราะสิ่งนี้เกิด สิ่งนี้จึงเกิด ...เพราะสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้จึงไม่มี...เพราะสิ่งนี้ไม่เกิด สิ่งนี้จึงไม่เกิดจากข้อความข้างต้นทำให้ดิฉันหวนคิดถึงสิ่งที่เคยเกิดในชีวิตของดิฉัน ซึ่งมีมากมายทั้งที่สมควรจำ และไม่สมควรจำ แต่มีครั้งหนึ่งจำได้ไม่เคยลืมเลือน คือ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
289
พฤษภาคม 2546
ปราณยามะ (๑)หมอชาวบ้านได้ลงบทความโยคะต่อเนื่องมาเป็นเวลา ๔ ปีแล้ว และที่ผ่านมาเนื้อหาส่วนใหญ่จะเน้นที่เทคนิคอาสนะ ซึ่งเป็นเทคนิคเด่นมากของโยคะ (ขอย้ำว่าเทคนิคที่เด่น ไม่ได้แปลว่าเป็นเทคนิคที่สำคัญสูงสุด) หากแต่ฉบับนี้ไป ขอนำผู้อ่านไปพบเทคนิคใหม่ปราณยามะ หรือเทคนิคการควบคุมลมหายใจตำราแม่บทโยคะสูตร ระบุถึงปราณยามะ ว่าเป็นมรรคขั้นที่ ๔ ของวิถีโยคะโดยอาสนะ เป็นมรรคขั้นที่ ๓ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
289
พฤษภาคม 2546
ซาร์ส-ปอดบวมมรณะ น่ากลัวจริงหรือ?เมื่อกลางเดือนมีนาคมที่ผ่านมา โรงพยาบาลบำราศนราดูร ได้รับผู้ป่วยที่สงสัยเป็นโรคซาร์ส หรือปอดบวมมรณะไว้รักษาในโรงพยาบาล ผู้ป่วยรายนี้เป็นแพทย์ ชาวอิตาลี วัย ๔๖ ปี ชื่อนายแพทย์คาร์โล เออร์บานี ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านโรคติดต่อแห่งองค์การอนามัยโลก และเป็นคนแรกที่ชี้ว่าโลกกำลังเผชิญกับโรคระบาดชนิดใหม่ เขาเดินทางไปที่ฮานอย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
289
พฤษภาคม 2546
โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง : ปอดบวมมรณะในระยะนี้มีการระบาดของโรคลึกลับชนิดใหม่ ที่สื่อมวลชนเรียกขานว่า "โรคปอดบวมมรณะ" ซึ่ง มีชื่อเป็นทางการว่า "โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง" ครั้งนี้จึงขอนำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับโรคนี้โดยได้รวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ เช่น องค์การอนามัยโลก ศูนย์ควบคุมโรคของสหรัฐอเมริกา กระทรวงสาธารณสุข เป็นต้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
289
พฤษภาคม 2546
โรคมะเร็ง...ในทรรศนะของแพทย์ (ผู้รักษา)ในการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ มีหลายโรคที่อาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้อย่างฉับพลันทันที แต่โรคอันตรายเหล่านั้นก็ไม่ทำให้ผู้ป่วย ทั้งหลายรู้สึกหวาดกลัว ท้อแท้ สิ้นหวัง และหมดกำลังใจได้มากมายเท่ากับเมื่อรู้ว่าตัวเองเป็นโรคมะเร็ง ทั้งๆ ที่มะเร็งหลายชนิดสามารถรักษาให้หายได้ นอกจากนี้ เสียงลือเสียงเล่าขานที่ผิดเพี้ยนบางประเด็นเกี่ยวกับโรคมะเร็ง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
289
พฤษภาคม 2546
ตัวอย่างผู้ป่วยที่ต้องรักษา "คน" ให้ได้ก่อน "ไข้" (ต่อ)ชายไทยอายุ ๖๐ ปี กำลังจะถูกส่งตัวไปโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งเพื่อทำการฟอกเลือด การฟอกเลือด (hemodialysis) หรือบางครั้งชาวบ้านเรียกว่า "ฟอกไต" คือ การนำเลือดที่เต็มไปด้วยของเสียในตัวผู้ป่วยไปวิ่งผ่านเครื่องฟอกเลือด เลือดที่ถูกฟอกของเสียรวมทั้งน้ำและเกลือแร่ที่เป็นพิษออกไปแล้วจะถูกนำใส่คืนกลับไปให้ผู้ป่วยใหม่ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
289
พฤษภาคม 2546
สมุนไพรที่นำมาบรรจุแคปซูล ในรูปยาแผนปัจจุบัน ช่วยลดโคเลสเตอรอลจัดเป็นผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่อยู่ในรูปยาแผนปัจจุบัน (phytopharmaceuticals) ไม่ใช่ยาแผนโบราณ (herbal medicines) ผลิตโดยการคั้นน้ำ จากนั้นนำไปสเปรย์ในความเย็นให้เป็นผงแห้ง แล้วบรรจุแคปซูล ใส่แผง blisters หรือขวด นำไปฉายรังสีเพื่อป้องกันเชื้อราและแบคทีเรีย ในกระบวนการผลิตนี้มีการวิเคราะห์หาสารออกฤทธิ์คือ Allyl sulfide ...