โรคตามระบบ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 178 กุมภาพันธ์ 2537
    สุขภาพฟันกับสิ่งแวดล้อม ในช่วงที่เพิ่งจะผ่านพ้นปีใหม่มาไม่นานนี้ ท่านผู้อ่านคงจะยังมีความสุขสบายใจมากพอที่จะแบ่งปันไปยังคนอื่นๆ ในสังคม และมีแรงที่จะช่วยกันดูแลสภาพแวดล้อมสังคมของเราให้น่าอยู่มากขึ้น เรื่องที่จะเล่าให้ฟังในครั้งนี้ก็หวังจะให้เป็นการกระตุ้นให้มีการสังเกตสังกาในความผิดปกติก่อนที่จะสายเกินไป เพื่อดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและสังคมต่อไปเป็นที่น่ายินดี ก็คือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 178 กุมภาพันธ์ 2537
    หินปูน, เหงือกร่นผู้ถาม : นงลักษณ์ / กรุงเทพฯผู้ตอบ : พ.ญ. สุรัตน์ มงคลชัยอรัญญาอยากทราบว่า การขูดหินปูนเสี่ยงต่อการติดโรคเอดส์หรือไม่หินปูนที่เกาะฟันมีสาเหตุเกิดจากอะไรหินปูนเป็นสารประกอบแคลเซียมที่ตกตะกอนเป็นผลึก จากการที่แคลเซียมในน้ำลานรวมตัวกับสารบางอย่างจากคราบจุลินทรีย์ (บางทีเรียกว่า “พลัก” [plaque] หรือเรียกภาษาชาวบ้านว่า “ขี้ฟัน” นั่นเอง)ควรขูดหินปูนออกหรือไม่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 178 กุมภาพันธ์ 2537
    น้ำท่วมปอดผู้ถาม นิลาวรรณ/กาญจนบุรีผู้ตอบ น.พ. พรชัย วัชระวณิชกุล, นพ. สว่าง แสงหิรัญวัฒนาสาเหตุของโรคน้ำท่วมปอดคืออะไร มีวิธีป้องกันและรักษาตัวอย่างไรอยากทราบว่าสาเหตุของโรคน้ำท่วมปอดเกิดจากอะไร มีวิธีป้องกันและรักษาตัวอย่างไร เพราะเพื่อนบ้านผู้ชายอายุ65 ปี กำลังป่วยเป็นโรคนี้ นอนอยู่ที่โรงพยาบาลและหมอเจาะน้ำที่ปอดออก กรุณาให้รายละเอียดด้วยน้ำท่วมปอด คือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 188 มกราคม 2537
    ใส่ฟันปลอมทั้งปากอย่างไรให้สบายฟันปลอมทั้งปากในที่นี้ หมายถึง ฟันปลอมชนิดถอดได้ที่มีโครงหรือฐานเป็นพลาสติก หรือโลหะร่วมกับพลาสติก และมีฟันเป็นพลาสติก ที่เรียกกันว่า full denture ในทางทันตกรรมโดยมากแล้วผู้ที่จะใช้ฟันปลอมแบบนี้ มักจะเป็นผู้สูงอายุที่สูญเสียฟันธรรมชาติไปหมดแล้ว และประสงค์ที่จะได้ฟันปลอมมาทดแทน แทนการใช้เหงือกเคี้ยวอาหารก่อนที่จะไปถึงวิธีการใช้ฟันปลอมชนิดนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 177 มกราคม 2537
    ฟันสบกันไม่ดีหากสังเกตให้ดีบางท่านมักไม่ค่อยชอบยิ้ม ทั้งนี้ไม่ใช่ไม่อยากยิ้ม แต่ไม่กล้ายิ้มต่างหาก เหตุผลอาจเนื่องมาจากฟันหลอ ฟันเก หรือฟันยื่นออกมามากกว่าปกติพูดถึงเรื่องนี้ผู้เชี่ยวชาญได้กล่าวเตือนว่า ความพิการของฟันไม่เพียงแต่จะทำให้ดูไม่น่าพิสมัยเท่านั้นยังมีผลต่อสุขภาพของช่องปากในอนาคตอีกด้วย ปัญหาในช่องปากที่เราท่านพบเห็นกันบ่อยๆ อย่างเช่น ปวดฟัน พูดไม่ชัด เคี้ยวหรือกลืนได้ลำบาก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 177 มกราคม 2537
    กรรมพันธุ์ - สายเลือด“คุณหมอครับ ลูกสาวผมเป็นโรคอะไรกันแน่ครับ เมื่อวานแม่เลี้ยงเขามาพบคุณหมอฟังคุณหมออธิบายเกี่ยวกับโรคที่ลูกสาวผมเป็น กลับไปบ้านโกรธผมมาก หาว่าเมื่อก่อนนี้ผมคงเที่ยวเก่งจนเลือดไม่ดี ติดให้ลูก ตอนนี้ภรรยาใหม่คนนี้ของผมกำลังตั้งครรภ์ ก็เป็นห่วงว่าจะได้เลือดไม่ดีจากผมอีก...” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 177 มกราคม 2537
    ตีนโทะเห็นชื่อเรื่องแล้วผู้มิใช่ชาวปักษ์ใต้ขนานแท้และดั่งเดิมคงจะพิศวงสงสัยว่านี่มันอะไรกันแน่ ถึงชาวปักษ์ใต้ก็เถอะ หากเข้ามาอยู่ในกรุงเสียนานจนแหลงภาษาบ้านเราไม่ถนัดก็จะลืมเลือนคำนี้ไปบ้าง ค่าที่เรื่องราวหรืออาการ “ตีนโทะ" ตอนนี้มีน้อยลง มิได้พบกันหนาหูหนาตาเช่นแต่ก่อน แต่อันที่จริงแล้วก็ยังมิได้หมดไปทีเดียวผู้เขียนเองก็มิใช่นักภาษาศาสตร์จึงไม่ทราบที่มาของศัพท์นี้อย่างแน่ชัด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 177 มกราคม 2537
    ช่องท้องและช่องอกโลกของเทคโนโลยียุคนี้ก้าวไปไกลมาก ความเชื่อที่ว่าปรากฏการณ์บางอย่างเป็นอิทธิฤทธิ์เหนือจริงของคนรุ่นบรรพบุรุษเรา เช่น การมีหูทิพย์ ตาทิพย์ ได้กลายมาเป็นจริงแล้วในวันนี้เมื่อเรามีโทรศัทพ์ที่สามารถติดต่อสื่อสารถึงกันจากคนละมุมโลกได้ เรามีดาวเทียมที่สามารถส่งภาพจากซีกโลกหนึ่งไปยังอีกซีกโลกหนึ่งได้เมื่อเป็นเช่นนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 177 มกราคม 2537
    การตรวจรักษาอาการเลือดออก (ตอนที่12)อาการเลือดออกในกะโหลกศีรษะ นับเป็นอีกอาการหนึ่งที่ทุกท่านควรใส่ใจ ด้วยเหตุที่เราไม่สามารถเห็นอาการแสดงได้อย่างชัดเจน เช่นเดียวกับอาการเลือดออกในบริเวณอื่นๆ อย่างไรก็ตาม ท่านก็ยังพอจะสามารถวินิจฉัยอาการได้จากประวัติการเจ็บป่วยต่างๆ ดังนี้12. เลือดออกในกะโหลกศีรษะ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 177 มกราคม 2537
    ทางเลือกใหม่ของคนกลัวเข็มฉีดยานับจากนี้ไปอีกไม่นานนัก การฉีดยาชาเพื่อทำฟันบางอย่างบางชนิดจะถูกยกเลิกไป เนื่องจากจะมีการนำวิธีการใหม่ ที่ไม่ต้องอาศัยเข็มฉีดยามาใช้ในประเทศไทย โดยเฉพาะในวงการทันตแพทย์ เพื่อทำให้คนไข้ชาได้เช่นเดียวกับการฉีดยาชา เรื่องนี้คงเป็นข่าวดีสำหรับคนที่กลัวการฉีดยาชาอย่างแน่นอนวิธีการใหม่ที่ว่านี้เรียกว่า Dental Electronic Anesthesia แปลว่า ...