โรคตามระบบ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 192 เมษายน 2537
    เครื่องมือ “กันที่” (กันฟันล้ม)ฉบับนี้เรามาทำความรู้จักเครื่องมือชนิดหนึ่งที่จะต้องใส่ไว้ในปาก ซึ่งคุณพ่อคุณแม่หลายท่านก็คงจะเคยกันมาบ้างแล้ว โดยที่อาจจะยังไม่ค่อยเข้าใจนักว่า ทำไมลูกของตัวจึงต้องใส่เจ้าเครื่องมือนี้ด้วยเครื่องมือนี้เรียกกันว่าเป็นเครื่องมือ “กันที่” ซึ่งก็เรียกตามหน้าที่การงานของมันนั่นเอง เพราะเจ้าเครื่องมือที่ว่านี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 180 เมษายน 2537
    ปาก : ประตูสู่สุขภาพหลายคนคงเคยได้ยินคำกล่าวนี้ เหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะปากเป็นช่องทางนำอาหารมาใช้ให้เกิดประโยชน์กับร่างกายนั้นก็เริ่มต้นตั้งแต่ในปากเลยทีเดียว เริ่มตั้งแต่การบดเคี้ยวให้อาหารเป็นชิ้นเล็กลง เพื่อให้การย่อยอาหารเป็นไปได้ง่ายขึ้นซึ่งจะช่วยให้คนๆ นั้นได้รับสารอาหารตามที่ควรจะได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 180 เมษายน 2537
    ปวดตา-ต้อหินเฉียบพลันข้อน่ารู้1. แก้วตาหรือเลนส์ตาที่อยู่ภายในลูกตา จะแบ่งลูกตาออกเป็น2 ส่วน ได้แก่ ช่องว่างส่วนหน้า แก้วตา เรียกว่า ช่องลูกตาด้านหน้า และช่องว่างส่วนหลังแก้วตา เรียกว่า ช่องลูกตาด้านหลังช่องลูกตาด้านหลังมีขนาดใหญ่ จะมีลักษณะเป็นน้ำวุ้นบรรจุอยู่ ช่วยให้ลูกตาทรงรูปอยู่ได้เป็นปกติ ส่วนช่องลูกตาด้านหน้า มีขนาดเล็ก อยู่ระหว่างกระจกตากับแก้วตา จะมีสารน้ำใสๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 179 มีนาคม 2537
    ตามัว-ตากระจกข้อน่ารู้1. แก้วตาหรือเลนส์ตา (lens) ในคนปกติมีลักษณะเป็นวุ้นใสๆ มีหน้าที่คอยปรับการหักเหของแสงที่เดินทางผ่านเข้ามายังนัตย์ตา ให้เกิดเป็นจุดรวมแสงหรือโฟกัสตกลงบนจอภาพ ทำให้มองเห็นภาพต่างๆได้ชัดเจน เปรียบเหมือนกับการปรับโฟกัสของเลนส์ของกล้องถ่ายรูป เมื่อย่างเข้าวัยสูงอายุ แก้วตาจะเสื่อมตามสังขาร ทำให้มีลักษณะขุ่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 179 มีนาคม 2537
    ปวดหลังโรคปวดหลังเป็นโรคที่พบได้บ่อยประมาณว่าร้อยละ80 ของคนทำงานจะมีอาการปวดหลัง อาการปวดอาจมีหลายรูปแบบตั้งแต่ปวดหลังไม่กี่วันแล้วหายได้เองจนถึงปวดหลังรุนแรงขนาดต้องหามส่งโรงพยาบาล ความสำคัญของโรคปวดหลังถูกจัดไว้เป็นอันดับ3 รองจากโรคหัวใจ และโรคไขข้อในคนที่มีอายุระหว่าง45-64 ปี มีรายงานสำรวจของประเทศสวีเดน พบว่า ประมาณร้อยละ53 ของคนที่ทำงานนั่งโต๊ะ และประมาณ64 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 179 มีนาคม 2537
    การตรวจรักษาอาการ “บวม” ตอนที่ 1อาการบวม หมายถึง อาการที่เนื้อหรืออวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งพองตัวขึ้นเนื่องจากมีน้ำคั่งอยู่ภายใน (น้ำในที่นี้หมายถึง น้ำเลือด น้ำเหลือง หรือน้ำในร่างกายอื่นๆ)น้ำที่คั่งอยู่ภายในนี้จะคั่งอยู่นอกเซลล์และนอกหลอดเลือด (ex-tracellular และ extravascular spaces) นั่นคือ น้ำเหล่านี้จะคั่งอยู่ระหว่างเซลล์ (intercellular และ interstitial space) นั่นเอง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 179 มีนาคม 2537
    แสงเลเซอร์กับงานทันตกรรมเพื่อให้ไปกันได้กับยุคโลกานุวัตร (Globalization) จึงจะขอนำเรื่องการใช้แสงเลเซอร์ในงานทันตกรรมมาเล่าสู่กันฟัง ซึ่งในอนาคตเทคโนโลยีตัวนี้คงจะเข้ามาทีบทบาทในวงการทันตแพทย์มากพอๆ กับที่กำลังแสดงบทบาทในวงการแพทย์อันได้แก่ การผ่าตัดน้อยใหญ่ทั้งหลายในปัจจุบันนี้ สำหรับโอกาสนี้จะขอนำเสนอในลักษณะนำร่องให้พอเห็นภาพกว้างๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 179 มีนาคม 2537
    กระดูกสันหลัง : แกนหลักของร่างกาย ครั้งหนึ่งเคยได้ยินคนทั่วไปเขากล่าวยกย่องชาวนาเอาไว้ว่า “ชาวนาเปรียบเสมือนกระดูกสันหลังของชาติ (ไทย)” เพราะชาวนาคือแกนหลักของกลุ่ม ผู้ผลิตอาหารเลี้ยงคนทั้งประเทศ รวมไปถึงเพื่อนร่วมโลกด้วยเหตุที่มีการเปรียบไว้เช่นนั้น คงเป็นเพราะกระดูกสันหลังถือได้ว่า เป็นแกนหลักของร่างกายเช่นเดียวกันกระดูกสันหลัง (spine) เป็นแนวกระดูกที่ทอดอยู่ทางหลังของร่างกาย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 178 กุมภาพันธ์ 2537
    ปวดหู-หูชั้นกลาง อักเสบเฉียบพลันข้อน่ารู้1. หูชั้นกลาง เป็นส่วนหนึ่งของช่องหูที่อยู่ระหว่างหูชั้นนอกกับหูชั้นใน อยู่ถัดจากเยื่อแก้วหูเข้าไปเป็นช่องที่บรรจุกระดูกอ่อน3 ชิ้น (กระดูกค้อน ทั่ง และโกลน) ที่รับการสั่นสะเทือนของคลื่นเสียง หูชั้นกลางมีช่องทางติดต่อกับลำคอและโพรงจมูก ที่เรียกว่า ท่อยูสเตเชียน (eustachian tube)2. เมื่อมีการติดเชื้อในลำคอเป็นไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ ทอนซิลอักเสบ หัด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 178 กุมภาพันธ์ 2537
    กะโหลกศีรษะเห็นภาพที่นำมาประกอบแล้วบางท่านอาจจะนึกกลัวอยู่ (นิดๆ)ในใจ ด้วยว่าภาพที่เห็นนี้มักจะถูกนำมาเป็นสัญลักษณ์แทนความกลัว อาทิ ภาพยนตร์ประเภทสยองขวัญอยู่เสมอๆ แต่อย่าไปกลัวเลยค่ะ เพราะเราทุกคนก็ต้องมีกะโหลกแบบนี้เป็นส่วนประกอบเหมือนกันทั้งนั้น ต่างกันก็แต่ว่าตอนที่ยังมีชีวิตอยู่นี้ เรามีกล้ามเนื้อผิวหนังห่อหุ้มอยู่จึงดูสวยงาม แต่ครั้นเมื่อตายไปแล้ว เนื้อหนังเน่าเปื่อยไป ...