โรคตามระบบ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 195 กรกฎาคม 2538
    หญิงไทยเหยื่อเอดส์ (ตอนจบ)หญิงไทยซึ่งมีจำนวนถึงครึ่งหนึ่งของประชากรไทย และมีอิทธิพลต่อการพัฒนาของบุตรหลานในครอบครัว และต่อความสัมพันธ์และทุกข์สุขของสมาชิก ในครอบครัวค่อนข้างมาก จึงน่าจะนำมาพิจารณากันว่าหญิงไทยควรมีบทบาทอย่างไรในปัจจุบันในการป้องกัน และลดผลกระทบจากโรคเอดส์ได้อย่างไรบ้าง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 195 กรกฎาคม 2538
    7คำถาม น่ารู้กับอีโบล่า1. ที่มาของเชื้ออีโบล่าเชื้ออีโบล่าเป็นเชื้อไข้เลือดออกที่พบในทวีปแอฟริกา รู้จักเมื่อมีการระบาดครั้งแรกที่ประเทศซาอีร์ และซูดาน เมื่อปี พ.ศ.2519 สามารถแยกเชื้อและศึกษารายละเอียดได้ พบว่าเชื้อที่แยกได้ที่ประเทศซูดาน ทำให้เกิดโรคระบาดที่มีอัตราตายต่ำกว่าเชื้อที่ระบาดในประเทศซาอีร์เชื้อที่มีลักษณะคุณสมบัติคล้ายเชื้ออีโบล่าจัดอยู่ในสกุลไฟโลไวรัสนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 195 กรกฎาคม 2538
    วูบ (ตอนที่ 1)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์ มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อน หรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสน จนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้ มาทำให้อ่านง่าย เข้าใจง่าย เพื่อจะได้เป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไป“วูบ” ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ให้ความหมายว่า เป็นคำกริยา แปลว่า “ลูกโพลงแล้วดับไปทันที ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 194 มิถุนายน 2538
    หญิงไทยเหยื่อเอดส์เมื่อเริ่มต้นมีการระบาดของโรคเอดส์ในโลกเมื่อ 14 ปีก่อน ผู้ชายถูกจัดเป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อการติดโรคเอดส์มากที่สุดจากพฤติกรรมรักร่วมเพศและการติดยาเสพติด ผู้หญิงอาจมีโอกาสติดเอดส์ได้เช่นกัน จากการมีเพศสัมพันธ์กับชายที่ติดยาเสพติด แต่โอกาสติดน้อยกว่าชายมากเมื่อการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ปรากฏเด่นชัดขึ้นมา ในทวีปแอฟริกาในระยะเวลาต่อมา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 194 มิถุนายน 2538
    บาดทะยักข้อน่ารู้1.บาดทะยัก เป็นโรคติดเชื้อร้ายแรงชนิดหนึ่ง ซึ่งเกิดจากเชื้อแบคทีเรียพันธุ์หนึ่ง ในทีนี้ขอเรียกว่า “เชื้อบาดทะยัก” เชื้อนี้มีลักษณะพิเศษ คือ พบอยู่ตามดินทรายและมูลสัตว์ มีความคงทน สามารถมีชีวิตอยู่ตามดินทรายได้นานเป็นปี ๆ และแพร่พันธุ์ได้ดีในที่ ๆ ไม่มีออกซิเจน ดังนั้นโรคนี้จะเกิดกับผู้ที่มีบาดแผลแปดเปื้อนเชื้อบาดทะยัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งบาดแผลที่มีปากแผลแคบ แต่ลึก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 193 พฤษภาคม 2538
    เจ็บแปลบหน้าอก-เยื่อหุ้มปอดอักเสบ⇒ ข้อน่ารู้1.ปกติผิวปอดทั้ง 2 ข้างของคนเราจะมีเยื่อหุ้มอยู่ 2 ชั้น ซึ่งมีความยืดหยุ่นเพื่อให้ปอดสามารถหดและขยายตามจังหวะการหายใจออก-เข้า และระหว่างเยื่อหุ้มปอด 2 ชั้นนั้น จะมีช่องว่างอยู่เรียกว่า “ช่องเยื่อหุ้มปอด”เยื่อหุ้มปอดที่อยู่ชั้นนอกจะมีประสาทรับสัมผัสกระจายอยู่ทั่วไป เมื่อมีการอักเสบเกิดขึ้นที่เยื่อหุ้มปอด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 190 กุมภาพันธ์ 2538
    คออักเสบคออักเสบเกิดจากเชื้อไวรัสและเชื้อแบคทีเรีย ถ้าคออักเสบจากเชื้อไวรัส ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บคอ กลืนลำบาก ปวดศีรษะเล็กน้อย อ่อนเพลีย มักจะมีไข้ต่ำๆ ในคอบวมแดง ส่วนคออักเสบจากเชื้อแบคทีเรียนั้นมักจะมีอาการมากกว่าการติดเชื้อไวรัส คอบวมแดง ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอจะโต คลำได้ชัด มักจะมีไข้สูง ปวดศีรษะมาก บางรายอาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนร่วมด้วยผู้ที่ป่วยไม่ว่าจะเกิดจากการติดเชื้ออะไรก็ตาม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 190 กุมภาพันธ์ 2538
    ใส่ฟันปลอมทั้งปากอย่างไรให้สบาย (ต่อ)เห็นชื่อเรื่องบอกว่า “ต่อ” คุณผู้อ่านอาจจะว่าต่อจากฉบับที่แล้วตรงไหน ความจริงต่อมาจากฉบับที่188 ธันวาคม 2537 เนื่องจากคอลัมน์นี้ผมเขียนสลับกับคุณหมออีกท่านหนึ่ง จึงเป็นฉบับเว้นฉบับครับครั้งก่อนผมได้พูดถึงปฏิกิริยาของช่องปากต่อฟันปลอมชุดใหม่ค้างอยู่ ได้แก่1. ความรู้สึกคับปากคับลิ้น2. น้ำลายออกมาก3. พูดไม่ค่อยชัดฉบับนี้ก็มาต่อข้อ 4 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 190 กุมภาพันธ์ 2538
    โรคกระดูกพรุนในวัยหมดประจำเดือนโรคกระดูกพรุนนี้ภาษาอังกฤษการแพทย์เรียกว่า esteoporosis เป็นสภาพที่กระดูกพรุนไป ไม่แข็งแรงเหมือนเดิม อาจทำให้มีการปวดกระดูกและกระดูกหักง่าย ในผู้หญิงที่อายุมากจะเป็นโรคกระดูกพรุนมากขึ้น ดังที่เราได้ยินว่า “ผู้หญิงอาวุโส” ท่านนั้นท่านนี้กระดูกหักบ้าง หรือเตี้ยลงไปบ้างขณะนี้ที่โรงพยาบาลรามาธิบดีและโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 190 กุมภาพันธ์ 2538
    โรคกระดูกพรุนโรคกระดูกพรุน (osteoporosis) หมายถึง ภาวะที่คนมีปริมาณความหนาแน่นของกระดูกลดลง มีการสร้างกระดูกน้อยลง หรือมีการทำลายเร็วขึ้น มีผลทำให้กระดูกบางและเปราะ มีอัตราเสี่ยงต่อกระดูกหักเพิ่มขึ้นคนปกติความหนาแน่นของกระดูกสูงสุดในอายุระหว่าง 25-35 ปี หลังจากนั้นความหนาแน่นของกระดูกจะลดลงทั้งหญิงและชาย โดยลดลงอัตราเฉลี่ยร้อยละ 6-8 ทุกๆ 10 ปี ในหญิงวัยหมดประจำเดือนหรือตัดรังไข่ทั้งสองข้าง ...