บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 378 ตุลาคม 2553
    คนไทยในสมัยโบราณ ก่อนเริ่มมีการศึกษาระบบแผนตะวันตกเข้ามาอย่างเต็มรูปแบบ พ่อแม่ที่ให้ความสำคัญและใส่ใจกับอนาคตของบุตรหลาน จะใช้วิธีฝากตัวให้เข้าไปเป็น “เด็กวัด” ตั้งแต่กินอยู่หลับนอน, ช่วยกิจของสงฆ์และงานต่างๆทั่วไป พระภิกษุท่านก็ถือเป็นลูกหลานช่วยแนะนำสั่งสอนให้ความรู้, ให้การศึกษาทั้งทางโลก และทางธรรม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 378 ตุลาคม 2553
    แซนด์วิช เป็นอาหารที่นิยมสำหรับผู้บริโภคทุกเพศทุกวัย สามารถนำมากินเป็นอาหารเช้าหรืออาหารว่างได้ เตรียมและประกอบเองง่าย ส่วนประกอบแต่ละชนิดที่มีอยู่ในตำรับล้วนแล้วแต่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 377 กันยายน 2553
    เรื่องเด่นจากปกเดือนนี้คือ ออกกำลังป้องกันสมองเสื่อมที่จริงการออกกำลังป้องกันความเสื่อมทุกชนิด ไม่ใช่เฉพาะสมอง เช่น ป้องกันหัวใจเสื่อม กระดูกเสื่อม ภูมิคุ้มกันเสื่อม ฯลฯการออกกำลังเป็นธรรมชาติของมนุษย์มานับด้วยแสนปี เพิ่งมาเมื่อไม่กี่ร้อยปีนี่เองที่มนุษย์เปลี่ยนแปลงมามีอาชีพทำงานเบา ทำให้ไม่ได้ออกกำลัง ทำให้เกิดความเสื่อมต่างๆ ตามมาถ้าออกกำลังกระดูกจะแข็งแรง ไม่เป็นโรคกระดูกพรุน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 377 กันยายน 2553
    ช่วงวันหยุดวันอาสาฬหบูชา-เข้าพรรษา เมื่อปลายเดือนที่ผ่านนี้ ผมได้มีโอกาสไปพักผ่อนที่ต่างจังหวัด ท่ามกลางธรรมชาติอันร่มรื่นและเงียบสงบ เอื้อให้ผมเขียนกาพย์ได้เรื่องหนึ่ง ชื่อว่า "สมองคนฝึกฝนได้" ซึ่งได้นำมาลงไว้ท้ายข้อเขียนนี้ในระยะนี้ผมได้อ่านหนังสือหลายเล่มที่ว่าด้วยการทำงานของสมองมนุษย์* ซึ่งได้นำเสนอข้อมูลการค้นคว้าวิจัยใหม่ๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 377 กันยายน 2553
    การเหวี่ยงแหรักษาโรค ถ้าเปรียบเทียบให้เห็นชัดเจนก็เหมือนการเหวี่ยงแหหาปลา ซึ่งมักจะได้ปลาจำนวนมาก หลากหลายทั้งชนิดและขนาด ถือว่าลองได้เหวี่ยงแหไปแล้วต้องมีปลาติดมาบ้างโอกาสพลาดก็มีไม่มากการรักษาโรคในปัจจุบันก็มีอยู่ไม่น้อยที่ใช้การรักษาแบบเหวี่ยงแห นั่นคือ พยายามรักษาให้ครอบคลุมไว้ก่อน ผู้ป่วยบ่นอะไร เป็นอะไร ก็รักษาหมดทุกอย่าง เช่น บ่นเวียนศีรษะก็ให้ยาแก้เวียนศีรษะ บ่นว่าไอก็ให้ยาแก้ไอ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 377 กันยายน 2553
    ที่ผ่านมาเคยนำเสนอเรื่องความเครียดและผลทางจิตใจอาจก่อโรคผิวหนังสารพัดชนิดไปแล้ว และมีข่าวจากลำปางและชุมพร พบผู้ป่วยโรคประหลาดมีแมลงออกมาจากผิวหนัง ซึ่งในที่สุดสรุปว่าน่าจะเข้าข่ายโรคจิตหลงผิดทางผิวหนัง จึงขอถือโอกาสนี้นำเสนอเรื่องของแมลงหรือปรสิตที่ไชชอนผิวหนังได้จริง และเรื่องของแมลงหรือปรสิตที่ไชชอนหลอกๆ คือไม่มีตัวตนจริงแต่ผู้ป่วยคิดไปเองคิดว่ามีแมลงไชชอน แต่จริงๆ ไม่มี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 377 กันยายน 2553
    นพ.ดร.ประเสริฐ เอื้อวรากุล ผู้เชี่ยวชาญด้านไวรัส และ นพ.วิศิษฎ์ ทองบุญเกิด ผู้เชี่ยวชาญโรคไต จากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล สามารถคว้ารางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นประจำปี ๒๕๕๓ จากมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ศาสตราจารย์ นพ.ดร.ประเสริฐ เอื้อวรากุล คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ได้ศึกษาพยาธิกำเนิดของการติดเชื้อไวรัสไข้หวัดนก H5N1 ในมนุษย์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 377 กันยายน 2553
    วาโก้โบว์ชมพู สู้มะเร็งเต้านม ๒๐๑๐ ร่วมกับสถาบันมะเร็งแห่งชาติ เครือโรงพยาบาลกรุงเทพ และโรงพยาบาลสมิติเวช เชิญชวนหญิงไทยเข้ารับการตรวจเอกซเรย์เต้านมด้วยเครื่องแมมโมแกรมพร้อมอัลตราซาวนด์ ในกิจกรรม "Wacoal Cares Your Breasts. Mammogram Saves Your Life." นพ.มงคล ณ สงขลา ประธานงานโครงการ "วาโก้โบว์ชมพู สู้มะเร็งเต้านม ๒๐๑๐" กล่าวว่า "สถิติผู้ป่วยมะเร็งเต้านมในประเทศไทย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 377 กันยายน 2553
    ศาสตราจารย์ ดร.ปราโมทย์ ประสาทกุล ประธานคณะกรรมการตัดสินรางวัลแม่ ๑๐๐ ปี ของมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า รางวัล "แม่ ๑๐๐ ปี" มหาวิทยาลัยมหิดลจัดขึ้นเป็นปีที่ ๖ โดยคัดเลือกจากแม่ที่มีอายุเกิน ๑๐๐ ปีที่ยังมีสุขภาพดี ซึ่งอาจเรียกได้ว่าเป็น "แม่ ๕ แผ่นดิน" คือเป็นแม่ซึ่งเกิดมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๕ และมีชีวิตอยู่มาถึงรัชกาลปัจจุบันการคัดเลือก "แม่ ๑๐๐ ปี" ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 377 กันยายน 2553
    ปวดประจำเดือน หมายถึง อาการปวดท้องน้อยขณะมีประจำเดือน ซึ่งมักจะเป็นประจำอยู่ทุกเดือน ส่วนใหญ่จะปวดไม่มากและสามารถทำงานได้ตามปกติ ส่วนน้อยที่อาการรุนแรงจนต้องพักงาน ในรายที่ปวดรุนแรงขึ้นทุกเดือน หรือเริ่มปวดครั้งแรกหลังอายุ ๒๕ ปี ก็อาจมีความผิดปกติของมดลูกหรือรังไข่ ซึ่งจำเป็นต้องปรึกษาแพทย์เพื่อตรวจหาสาเหตุ ► ชื่อภาษาไทย ปวดประจำเดือน ► ...