บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 379 พฤศจิกายน 2553
    ไม้เถาเลื้อยหลายชนิดที่มีถิ่นกำเนิดในต่างประเทศ สามารถนำมาปลูกขยายพันธุ์หลายพื้นที่ของประเทศไทย และปรับตัวออกดอกได้ตลอดปี เป็นไม้ดอกไม้ประดับได้สวยงาม ซึ่งในจำนวนนี้คือ รุ่งอรุณ รุ่งอรุณเป็นไม้พุ่มและกึ่งเลื้อยขนาดกลาง อยู่ในวงศ์ Bignoniaceae พืชวงศ์นี้มีหลายชนิด ทั้งไม้เลื้อย ไม้พุ่ม และไม้ยืนต้น เช่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 378 ตุลาคม 2553
    สสส. (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ) ได้จัดการประชุมเรื่อง "ปฏิรูปประเทศไทย เพื่อสุขภาวะคนไทย" ทุก ๒ สัปดาห์มาเป็นเวลาประมาณปีครึ่ง ก่อนที่นายกรัฐมนตรีจะประกาศว่าจะสนับสนุนเรื่องการปฏิรูปประเทศไทยวัตถุประสงค์ของการปฏิรูปประเทศคือ "สร้างความเป็นธรรม-ลดความเหลื่อมล้ำ" ความเป็นธรรมทำให้เกิดสุขภาวะ สังคมไทยขาดความเป็นธรรมในทุกๆ ด้าน ทั้งเศรษฐกิจ สังคม กฎหมาย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 378 ตุลาคม 2553
    ๒-๓ ปี มานี้มีกระแสนิยมกินใบมะรุมเป็นยาบำรุงและรักษาสุขภาพกันอย่างกว้างขวาง แทบจะทั่วทุกภาคของประเทศ บ้างก็กินในรูปของยาเม็ดสำเร็จรูป บ้างก็เด็ดกินใบสด โดยนิยมกินเป็นประจำทุกวัน เป็นแรมเดือนแรมปี ทั้งนี้ได้มีเอกสารออกมาเผยแพร่ถึงประโยชน์และสรรพคุณของมะรุม ซึ่งระบุว่ามีอยู่มากมายหลายประการหมอชาวบ้านก็เคยมี ดร.กรณ์กาญจน์ ภมรประวัติธนะ เขียนเรื่อง "มะรุม" และพืชผักอื่นๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 378 ตุลาคม 2553
    ความสำเร็จของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ในยุคแรกปี พ.ศ.๒๕๔๕-๒๕๕๐ ทำให้คนไทยกว่า ๔๘ ล้านคนได้รับการคุ้มครองจากสิทธิหลักประกันสุขภาพ (บัตรทอง) ได้เข้าถึงการบริการผู้ป่วยนอก ๓๙.๑ ล้านคน ผู้ป่วยใน ๕.๓ ล้านคน นอกจากนี้ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 378 ตุลาคม 2553
    เริมเป็นโรคติดต่อที่พบได้บ่อย เกิดจากเชื้อไวรัสเริม (Herpes simplex virus, HSV) ลักษณะของเริมคือพบหย่อมตุ่มน้ำใสบนพื้นผิวหนังสีแดง ต่อมาตุ่มน้ำใสมักกลายเป็นตุ่มหนอง หรือแตกเป็นแผล ในที่สุดอาจมีสะเก็ดปกคลุม แม้ว่าการติดเชื้อเริมเกิดได้ทุกตำแหน่งของร่างกายส่วนใหญ่ (คือร้อยละ ๗๐-๙๐) ของการติดเชื้อไวรัสเริมชนิดที่ ๑ (HSV-1) เกิดในตำแหน่งที่สูงกว่าเอว และส่วนใหญ่ (คือร้อยละ ๗๐-๙๐) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 378 ตุลาคม 2553
    ตั้งชื่อเรื่องอย่างนี้คงมีหลายคนที่เกิดความรู้สึกขัดแย้ง เพราะเป็นการสวนกระแสความเชื่อเรื่องสุขภาพ โดยเฉพาะการลดความอ้วนและการมีชีวิตยืนยาว ซึ่งส่วนใหญ่เชื่อว่าอาหารมื้อเย็นไม่จำเป็น เนื่องจากร่างกายจะได้พัก ไม่จำเป็นต้องกิน ต่างกับมื้อเช้าและมื้อกลางวันที่ต้องกินให้มากเพื่อเติมพลังไว้สำหรับการทำงานหนักแนวคิดของผู้เขียนที่อยากนำเสนอในอีกมุมมองหนึ่งซึ่งชวนให้แย้งว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 378 ตุลาคม 2553
    ศ.คลินิก นพ.ธีรวัฒน์ กุลทนันทน์ คณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นประธานแถลงข่าวประกาศผลและมอบรางวัลแพทย์ดีเด่นในชนบท ประจำปี ๒๕๕๒ ร่วมกับ รศ.นพ.อนุพันธ์ ตันติวงศ์ ประธานคณะกรรมการการคัดเลือกแพทย์ดีเด่นในชนบท โดยมี รศ.นพ.ดิฐกานต์ บริบูรณ์หิรัญสาร รองคณบดีฝ่ายประชาสัมพันธ์และกิจการพิเศษ เป็นผู้ดำเนินการผลการคัดเลือกแพทย์ดีเด่นในชนบท ประจำปี ๒๕๕๒ คณะกรรมการฯ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 378 ตุลาคม 2553
    มูลนิธิรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี จัดทำโครงการปลูกถ่ายตับจากพ่อแม่สูลูก เฉลิมพระเกียรติ ๕๕ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อเพิ่มทางรอด ให้ชีวิตใหม่แก่ผู้ป่วยเด็กโรคตับที่ยากไร้ ด้วยวิธีการปลูกถ่ายตับจากพ่อแม่ที่ยังไม่เสียชีวิต นับเป็นครั้งแรกในไทย และพัฒนาการแพทย์ให้ก้าวหน้าทัดเทียมต่างประเทศศาสตราจารย์นายแพทย์รัชตะ รัชตะนาวิน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 378 ตุลาคม 2553
    สท. ยูนิเซฟ ผนึกองค์กรภาคีและนักวิชาการ ผลักดันกฎหมายบังคับให้เกลือผสมไอโอดีนเพื่อป้องกันเด็กไทยขาดไอโอดีนอย่างยั่งยืน ยกกระทรวงสาธารณสุขเป็นเจ้าภาพ ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เร่งแก้ปัญหาอย่างบูรณาการ พร้อมเรียกร้องให้แก้กฎหมายให้ชัดเจนขึ้น และให้บังคับใช้อย่างเคร่งครัดสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาสและผู้สูงอายุ (สท.) องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 378 ตุลาคม 2553
    ผลการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยและตรวจร่างกายครั้งที่ ๔ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๒ พบว่าเด็กชายและเด็กหญิงมีการเติบโตทางร่างกายมีส่วนสูงเพิ่มขึ้นประมาณ ๔ เซนติเมตร ในช่วง ๘ ปีที่ผ่านมาจะมีภาวะโภชนาการดีขึ้นพญ.ลัดดา เหมาะสุวรรณ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยในงานการประชุมวิชาการโภชนาการแห่งชาติครั้งที่ ๔ "การขับเคลื่อนงานโภชนาการเพื่อคุณภาพชีวิต" ณ ...