บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 41 กันยายน 2525
    โรคหัวใจฉบับที่แล้ว “โรคหัวใจที่พบบ่อยในประเทศไทย” ได้กล่าวถึงโรคที่เรียกกันเองแต่ไม่ใช่โรค คือ1.“โรคหัวใจอ่อน2.“โรคหัวใจโต”3.“โรคหัวใจวาย” กับ “ภาวะหัวใจล้ม”และโรคที่เกิดจากโรคหัวใจจริง ๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 41 กันยายน 2525
    น้ำหนักเด็กสำคัญไฉน ? การเจริญเติบโตของมนุษย์นั้นเริ่มต้นตั้งแต่อยู่ในครรภ์แม่ จากจุดเล็ก ๆ คือไข่ใบเดียว เมื่อมีการผสมกับตัวเชื้ออสุจิ ก็จะกลายเป็นชีวิตมนุษย์ ซึ่งจะค่อย ๆ เติบโต มีอวัยวะต่าง ๆ เช่น มีหัวใจ มีตา มีแขน ขา เป็นต้น และเมื่ออยู่ในครรภ์ได้ประมาณ 280 วัน มนุษย์ก็จะถูกคลอดจากครรภ์มาสู่โลกภายนอก จากนั้นชีวิตก็จะผ่านวัยต่าง ๆ คือ วัยทารก ซึ่งเป็นช่วงอายุตั้งแต่แรกเกิดไปจนถึงอายุ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 40 สิงหาคม 2525
    คีลอยด์แผลเป็นยักษ์ “คอลัมน์นี้จะช่วยให้ผู้อ่านรู้จักอาการและโรคต่าง ๆ รวมทั้งวิธีตรวจร่างกายด้วนตนเอง ซึ่งจะนำมาเสนอเป็นประจำทุกฉบับ””คุณหมอคะ ทำไมแผลเป็นที่คุณหมอเย็บไว้ ปูดโต น่าเกลียดจังค่ะ? มันเกี่ยวกับที่ดิฉันกินไข่ กินส้มหรือเปล่าคะ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 40 สิงหาคม 2525
    เลี่ยนและพลู เลี่ยน⇒ชื่ออื่นเกรียน, เคี่ยน , เฮี่ยน (ภาคเหนือ), โขวหนาย (แต้จิ๋ว) , ขู่เลี่ยน (จีนกลาง) Bead tree, Bastard Cedar,China Tree, Chinaball Tree, Persian Lilac⇒ชื่อวิทยาศาสตร์Melia azedarach L. วงศ์ Meliaceae⇒ลักษณะต้นเป็นไม้ใหญ่ผลัดใบ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 40 สิงหาคม 2525
    หมอโบราณยาสมุนไพรหมอโบราณได้ตั้งตำรายาไว้ว่า มนุษย์เกิดขึ้นมาต้องประกอบด้วยธาตุทั้ง 4 (ดูรายละเอียดใน “หมอชาวบ้าน ” ฉบับ 37 หน้า 51 ) ดังนั้นจึงตั้งตัวยาประจำธาตุทั้ง 4 ไว้เพื่อให้คนกิน และเติมธาตุที่ 5 อีกคือ อากาศธาตุทางทรรศนะแพทย์แผนโบราณถือว่า มีลมพัดออกจากส่วนที่เป็นช่องตามร่างกายคือ ทางหู ทางตา ทางจมูก ทางปาก ทางช่องปัสสาวะ และ ทางช่องอุจจาระ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 40 สิงหาคม 2525
    เด็กหกเดือนถึงเจ็ดเดือน(ต่อจากฉบับที่แล้ว) สภาพแวดล้อม165.พี่น้องสมัยที่น้องยังเอาแต่นอนอยู่ในเตียง ลูกคนพี่มักไม่ค่อยสนใจน้องเท่าไรนัก และมองน้องแบบคนที่จะมาแย่งความรักไปจากแม่ แต่เมื่อน้องอายุเกิน 6 เดือน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 40 สิงหาคม 2525
    กล่องเสียง กล่องเสียง เป็นอวัยวะที่เป็นทางผ่านของอากาศและช่วยในการออกเสียง ประกอบด้วยกระดูกอ่อนหลายชิ้นยึดต่อกันด้วยเอ็น ได้แก่ กระดูกอ่อนธัยรอยด์ (Thyroid cartilage) , ไครคอยด์ (Cricoid cartilage), อรีทีนอยด์ (Arytenoid cartilage)และกระดูกเล็ก ๆ อีกหลายชิ้นที่ส่วนต้นของกล่องเสียงมีกระดูกอ่อนอิปิกล๊อตติส (Epiglottis) หรือที่เราเรียก ลิ้นไก่ล่าง เป็นฝาปิดกล่องเสียง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 40 สิงหาคม 2525
    โรคหัวใจโรคหัวใจที่พบบ่อยในประเทศ คือ1.)โรคหัวในอ่อน“โรคหัวใจอ่อน” หรือบางคนอาจะเรียกว่า “โรคประสาทหัวใจ” หรือบางครั้งก็อาจจะมีชื่อแปลก ๆออกไป ทำให้คิดว่าเป็นเรื่องอื่น ๆ เช่น “โรคหัวใจวาย” “โรคความดันเลือดต่ำ” “โรคเลือดน้อย” เป็นต้น อาจจะกล่าวได้ว่าโรคนี้ หรือภาวะอย่างนี้พบบ่อยที่สุดในบรรดาโรคหัวใจทั้งหลาย ทั้ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 40 สิงหาคม 2525
    เท้าอวัยวะเบื้องต่ำที่สำคัญถึงแม้ว่าเท้าของมนุษย์เราจะเป็นอวัยวะที่อยู่เบื้องต่ำ ไม่เชิดหน้าชูตาเช่นหน้า ทั้งยังเป็นเครื่องแสดงท่าทีที่หยาบคาย ถ้าถูกยกขึ้นมาอยู่ในระดับสูง แต่ก็เป็นอวัยวะที่สำคัญมาก ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าอวัยวะอื่นๆ เลย มนุษย์เป็นสัตว์ที่เดินอยู่บนสองเท้า เท้าจึงต้องทำหน้าที่รับน้ำหนักของร่างกายทั้งหมด เมื่อมีการยืน เดิน หรือวิ่ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 40 สิงหาคม 2525
    กดจุดแก้อาการปวดน่อง“ปวดน่องจังเลยคุณ”“ทำไมอยู่ ๆถึงปวดล่ะ”“ก็ยังไม่แน่ใจว่ามันเกิดขึ้นเพราะอะไร แต่เท่าที่สังเกตตูเวลาใส่รองเท้าส้นสูงนาน ๆ จะรู้สึกปวดเมื่อย”“ก็อย่าใส่รองเท้าส้นสูงเสียซิ จะได้ไม่ปวด”“จะให้ไม่ใส่ได้อย่างไร เรามันตัวไม่สูงและผู้หญิงที่ต้องแต่งชุดไปทำงานแทบทุกคนเขาก็ใส่กัน ...