บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 353 กันยายน 2551
    หมอชาวบ้านฉบับนี้ได้นำเสนอเรื่องราวของคุณเบญจวรรณ อรุณสาธิต ผู้พิการจากการประสบอุบัติเหตุ ที่มีจิตใจแข็งแกร่ง สามารถยืนหยัดดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่าต่อตัวเองและผู้อื่นอันน่ายกย่องยิ่งในปัจจุบัน มีผู้คนจำนวนไม่น้อยที่ร่างกายพิการเนื่องจากความผิดปกติมาแต่กำเนิด หรือจากการเจ็บป่วย (ที่พบได้บ่อยก็คือโรคอัมพาตครึ่งซีกในคนวัยกลางคนขึ้นไป เบาหวานที่ต้องตัดขา) หรือจากอุบัติเหตุหรือบาดเจ็บ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 353 กันยายน 2551
    ปัจจุบันคนไทยออกกำลังกายด้วยการวิ่งกันมากขึ้น จึงขอเล่าเรื่องปัญหาผิวหนังที่พบบ่อยในนักวิ่ง ซึ่งได้แก่ เล็บห้อเลือด ตุ่มน้ำใสพองที่ผิวหนัง ตาปลา ภาวะเท้าดำ ผิวแตกลาย ผิวหนังติดเชื้อโรค ผิวแพ้สัมผัส เช่นเดียวกับที่พบในนักกีฬาอีกหลายชนิดดังที่กล่าวไปแล้วในฉบับเดือนสิงหาคม นอกจากนี้นักวิ่งยังพบปัญหาผิวหนังอย่างอื่นอีก ได้แก่หัวนมอักเสบเกิดจากการที่วิ่งไปแล้วหัวนมเสียดสีกับเสื้อ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 353 กันยายน 2551
    เรามักจะได้ยินคนพูดกันบ่อยๆ ว่า "ถ้าจะให้หายป่วยเร็วๆ ต้องฉีดยา" หรือ "ยาฉีดแรงกว่ายากิน เลยได้ผลดีกว่า"Žแม้แต่บทสนทนากับหมอ..."หมอ ผมขอยาฉีดได้ไหม จะได้หายเร็วๆ" หรือ"ถ้าไม่ฉีดยาแล้วจะหายหรือคะ"Žจะเห็นได้ว่าผู้ป่วยบางคนยังขาดความรู้ความเข้าใจ และยังมีความเชื่อว่ายาฉีดนั้นต้องดีกว่าหรือแรงกว่ายากินซึ่งไม่ถูกต้องนัก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 353 กันยายน 2551
    ฉบับนี้ขอคุยด้วยเรื่อง "ปวดท้อง" ของคุณผู้หญิงก็แล้วกันคุณผู้หญิงทุกคนคงจะเคยมีอาการปวดบริเวณท้องน้อยกันทุกคนเมื่อเริ่มเข้าสู่วัยรุ่น และจะพบบ่อยในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย เพราะเพศหญิงมีอวัยวะสืบพันธุ์บริเวณอุ้งเชิงกรานที่เพศชายไม่มี เช่น มดลูก รังไข่ และท่อนำไข่ อวัยวะต่างๆ ของเพศหญิงดังกล่าวนั้นมักจะมีพยาธิสภาพได้บ่อย เช่น การติดเชื้อในอุ้งเชิงกราน เนื้องอก ถุงน้ำ มะเร็ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 353 กันยายน 2551
    แพทย์หญิงศิราภรณ์ สวัสดิวร รองประธานศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย เปิดเผยผลงานวิจัยเกี่ยวกับนมแม่ทั้งของไทยและต่างประเทศ ในงานประชุมวิชาการนมแม่แห่งชาติ ครั้งที่ 2 ที่ออกมาทิศทางเดียวกันว่า นมแม่เป็นวัคซีนแรกของลูกน้อย นมแม่ทำให้ลูกป่วยน้อยลงแล้ว ไม่เป็นโรคแพ้โปรตีนนมวัว และผลกระทบทางสุขภาพอื่นๆในวัยเด็กแล้ว ยังส่งผลต่อสุขภาพของเด็กเมื่อเติบโตด้วยนั่นคือนมแม่ช่วยลดความเสี่ยงการเกิดโรคร้าย 3 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 353 กันยายน 2551
    การประชุมวิชาการครบรอบ 15 ปีสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ปัญหาและผลกระทบจาก "โลกร้อน" มีการพูดคุยกันมากเรื่องหนึ่ง โดยเฉพาะผลกระทบด้านสุขภาพศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ประเสริฐ ทองเจริญ ประธานมูลนิธิการศึกษาไข้หวัดใหญ่ กล่าวว่า การที่อุณหภูมิเฉลี่ยของบรรยากาศโลกเพิ่มสูงขึ้นทำให้น้ำแข็งละลาย กลายเป็นแหล่งน้ำ และเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุง ซึ่งไม่เคยพบในพื้นที่สูงกว่าระดับน้ำทะเล 9,000 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 353 กันยายน 2551
    ตลอดปี พ.ศ.2548 มีทารกถูกทิ้ง 700-800 คน เฉลี่ยถูกทิ้งวันละ 2 คนนี่คือข้อมูลจากโครงการติดตามสถานการณ์เด็กและเยาวชนรายจังหวัดหรือ Child Watch ที่ทำการติดตามและสำรวจทารกที่ถูกทิ้งซึ่งยังไม่นับรวมกับข่าวพบซากทารกถูกทิ้งในที่ต่างๆ ปัญหาเหล่านี้มีความเชื่อมโยงกับสถานการณ์การท้องไม่พร้อมอย่างแยกไม่ออก แสดงให้เห็นว่า สังคมไทยกำลังเผชิญกับวิกฤติของปัญหาท้องไม่พร้อมอย่างหนัก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 353 กันยายน 2551
    แมลงกินได้มีอะไรบ้าง หาได้จากไหน ในฤดูกาลใดมีงานวิจัยหลายชิ้นที่ได้รวบรวมรายชื่อแมลงที่กินได้ในประเทศไทยว่ามีตั้งแต่ 44 ชนิด ถึง 196 ชนิด แต่ที่พบบ่อยๆ ในตลาดปัจจุบันมีอยู่ประมาณ 20-25 ชนิด ถ้าจะพิจารณาแหล่งที่อยู่อาศัยของแมลง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 353 กันยายน 2551
    วัคซีนคือสิ่งที่แพทย์ให้ผู้ที่มีร่างกายแข็งแรง โดยวิธีฉีดหรือให้กิน วัคซีนจะเข้าสู่ร่างกายแล้วกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อเชื้อวัณโรคในธรรมชาติ มีผลให้ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคและป่วยสำหรับวัคซีนมีความจำเป็นจะต้องฉีดให้เด็กให้ครบถ้วน มีอะไรบ้าง ขอแบ่ง "ความจำเป็น" ออกเป็น 2 มุมมอง (Viewpoint)ผู้ปกครองหรือเด็ก มุมมองของผู้ปกครองหรือเด็กนั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 353 กันยายน 2551
    อัณฑะบิดตัว หมายถึง ภาวะที่สายรั้งอัณฑะ (spermatic cord) เกิดการบิดตัว หมุนรอบตัวเอง ทำให้มีอาการปวดอัณฑะ อัณฑะเป็นก้อนบวม ซึ่งมักเกิดขึ้นอย่างฉับพลัน หากไม่ได้รับการรักษาได้ทันท่วงที ก็มักทำให้เนื้อเยื่ออัณฑะตายเนื่องจากขาดเลือดไปเลี้ยง ผู้ป่วยต้องสูญเสียอัณฑะไปข้างหนึ่ง ทำให้มีบุตรยากได้ โรคนี้มักพบในวัยรุ่นหรือทารกโรคนี้ถือว่าเป็นภาวะฉุกเฉินที่ต้องรีบไปพบแพทย์ทันที♦ ชื่อภาษาไทย ...