บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    ปลาร้าเจปลาร้าเป็นอาหารประจำถิ่นของคนไทยและประเทศต่างๆ ในภูมิภาคนี้ที่หาปลากินตามแม่น้ำ ลำคลอง ในฤดูกาลที่หาปลาได้มากก็หาวิธีถนอมไว้กินในยามขาดแคลน ซึ่งปลาร้าเป็นรูปแบบหนึ่งที่นิยมมาก โดยเฉพาะทางภาคอีสานและภาคเหนือของไทย ปลาร้าเป็นเครื่องปรุงที่มีติดบ้านทุกครัวเรือน อาหารแทบทุกอย่างปรุงแต่งรสด้วยปลาร้า และเมนูยอดฮิตที่รู้จักกันรวมทั้งคนกรุงเทพฯ คือ ส้มตำลาวใส่ปลาร้า ถ้าไม่ใส่ปลาร้าก็ไม่แซบ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    กลุ่มอาการ สตีเวนส์จอห์นสันเด็ก ๒ คนนี้ก็คือ ผู้ป่วย ๒ รายแรกที่ป่วยด้วยโรคที่เรียกว่า "กลุ่มอาการ สตีเวนส์จอห์นสัน" ซึ่งแพทย์รุ่นหลังได้ตั้งชื่อตามแพทย์ ๒ ท่านดังกล่าวโรคนี้จัดเป็นภาวะรุนแรงที่มีอัตราตายและภาวะแทรกซ้อนค่อนข้างสูง พบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ชื่อภาษาไทยกลุ่มอาการสตีเวนส์จอห์นสันชื่อภาษาอังกฤษ Stevens-Johnson syndrome (SJS), Erythema ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    ตัวอย่างผู้ป่วยที่ต้องรักษา"คน"ให้ได้ก่อน"ไข้"ตัวอย่างผู้ป่วยรายที่ ๓๑ ในช่วงเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา มีเทศกาล "รับน้องใหม่" ในสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ เช่นเดียวกับทุกปีที่ผ่านมา แต่ปีนี้มีความรุนแรงและวิธีการรับน้องที่ดุเดือด ลามกอนาจาร จนถึงขั้นข่มขืนน้อง "ชักเย่อจู๋" และซ้อมเชียร์จนถึงตาย เป็นต้นนางสาวสุพัตรา มหาอุดม (น้องหญิง) นิสิตชั้นปี ที่ ๑ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    การใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์การใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์ เป็นอีกปัญหาหนึ่งที่มีผู้สนใจสอบถามกันมาเรื่อยๆ ด้วยความห่วงใยในเรื่องความปลอดภัยของการใช้ยาว่า จะส่งผลเสียต่อทารกในครรภ์ของแม่หรือไม่ ควรมีหลักในการเลือกใช้ยาในระหว่างตั้งครรภ์อย่างไร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    ดัดตน แก้คอ แก้ไหล่ปลายเดือนมิถุนายน ๒๕๔๘ ผมได้ไปประชุมทำตำราการนวดไทยกับคณะกรรมการการอุดมศึกษา ที่จังหวัดอุดรธานี ระหว่างการประชุมมีรายการออกไปดูงานที่โรงเรียนการนวดไทย ๒ แห่ง และได้กลับมาดูการสาธิตการนวดไทยที่สาธารณสุขจังหวัด ซึ่งเป็นการนวดพื้นบ้านแบบไม่มีขั้นตอนการนวด คือถ้าคนไข้มาหาแล้วเจ็บปวดตรงไหนก็จะนวดตรงนั้นเลย ถือว่าไม่มีการอุ่นเครื่องก่อนที่จะลงมือนวดเหมือนอย่างในกรุงเทพฯ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    กินอย่างไรเพื่อป้องกันโรคกระดูกพรุนหลายคนคงเคยได้ยินหรือได้เห็นมาว่า เมื่อคนเรามีอายุมากขึ้นอาจมีปัญหาเรื่องตัวเตี้ยลง หลังค่อมจนเงยไม่ขึ้น ขาโก่งงอ หรือกระดูกหักง่าย ต้องระวังไม่ให้หกล้ม อาการเหล่านี้เป็นผลเกี่ยวเนื่องจากภาวะกระดูกพรุน คงไม่มีใครอยากมีอาการเช่นนี้ เราจึงควรมาเรียนรู้และป้องกันไม่ให้เกิดภาวะกระดูกพรุนกันเถอะรู้จักโรคกระดูกพรุน โรคกระดูกพรุน หรือที่เรียกว่า osteoporosis ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    ๘ ขั้นตอนสำหรับเลิกบุหรี่ถาม : อภิรักษ์/นครราชสีมาปัญหาของผมคือ อยากจะเลิกสูบบุหรี่โดยเด็ดขาด ไม่ทราบว่าจะทำอย่างไรดี เพราะเคยลองใช้วิธีหักดิบแล้ว (ทรมานมากๆ) แต่ก็ไม่ได้ผล ทำให้ต้องหันกลับมาสูบอีกผมขอความกรุณาคุณหมอช่วยให้คำแนะนำด้วยนะครับตอบ : นพ.ธเนศ พัวพรพงษ์ทำไมการเลิกบุหรี่ถึงเป็นเรื่องยาก เหตุที่ทำให้การเลิกบุหรี่เป็นเรื่องยากนั้น มีสาเหตุที่สำคัญ ๒ อย่างคือการติดเพราะร่างกายต้องการ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    ถาม : นุชนาฏ/กรุงเทพฯดิฉันอายุ ๒๗ ปี เพิ่งคลอดลูกชายคนแรกอายุได้ ๔ เดือนแล้วค่ะ (เลี้ยงเองค่ะ มีคุณแม่มาช่วยเลี้ยงด้วย) อยากจะขอเรียนถามคุณหมอ ว่าลูกอายุขนาดนี้ควรจะให้ลูกกินอาหารเสริมอะไรบ้าง เพราะอยากให้ลูกเติบโตขึ้นมาอย่างคนสุขภาพดีและแข็งแรงค่ะ ขอความกรุณาคุณหมอ ช่วยตอบด้วยนะคะตอบ : นพ.ยุทธสิทธิ์ ธนพงศ์พิพัฒน์นมแม่ คือ อาหารที่ดีที่สุด และจำเป็นที่สุดสำหรับทารกแรกเกิด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    โรคที่มากับ...มือถาม : นฤมล/กรุงเทพฯดิฉันอยากทราบว่าโรคติดเชื้อที่ติดต่อผ่านทางมือมีอะไรบ้าง และสามารถป้องกันหรือหลีกเลี่ยงได้อย่างไรขอความกรุณาคุณหมอช่วยตอบและอธิบายด้วยนะคะตอบ : นพ.นพวัชร์ สมานคติวัฒน์นอกจาก "สมอง" แล้ว "มือ" นับเป็นอวัยวะที่ทำให้มนุษย์เหนือกว่าสิ่งมีชีวิตอื่นบนโลกใบนี้ เนื่องจากมนุษย์ใช้สมองคิดค้นสิ่งต่างๆ ในขณะที่ใช้มือในการประดิษฐ์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    น้ำลูกยอ ดีจริงหรือถาม : นัดดา/ปราจีนบุรีดิฉันอยากทราบรายละเอียดของ "น้ำลูกยอ" (เพราะเดี๋ยวนี้เห็นตามท้องตลาดมีหลายยี่ห้อ และอยากจะหามาบริโภคบ้าง) ขอเรียนถามคุณหมอว่า น้ำลูกยอมีประโยชน์อย่างไรบ้าง ถ้าบริโภคไปนานๆ จะมีผลข้างเคียงอะไรไหม ช่วยตอบและให้คำแนะนำด้วยนะคะตอบ : น.ท.นพ.จักรพงศ์ ไพบูลย์ลูกยอ ชื่อวิทยาศาสตร์ Morinda citrifolia Lin ชื่อวงศ์ Ru-biaceae ชื่อท้องถิ่น มะตาเสือ ...