บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    ภาวะพลังไตไม่พยุงรั้งกลุ่มอาการหรือภาวะพลังไตไม่พยุงรั้งมีความหมายและอาการแสดงออกอย่างไรภาวะพลังไตไม่พยุงรั้ง หรือพลังไตอ่อนแอไม่ดึงรั้ง เป็นภาวะที่บ่งบอกว่า พลังไตอ่อนแอจนทำให้หน้าที่ในการเก็บกัก สะสม พยุง หรือเหนี่ยวรั้งบกพร่อง ทำให้เกิดอาการต่างๆ เช่น ปัสสาวะรดที่นอน น้ำกามเคลื่อน หลั่งเร็ว ตกขาวมากผิดปกติ รวมถึงแท้งลูกได้ง่ายอาการร่วมที่มักพบในผู้ป่วยภาวะพลังไตไม่พยุงรั้ง ได้แก่อะไรบ้าง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    นิยามของโรคในโยคะ และหลักการรักษาของโยคะโยคะเป็นเรื่องของใจและจิตวิญญาณ แต่จากการศึกษาโยคะสูตรของปตัญชลี อย่างพินิจพิเคราะห์ ก็จะพบว่าโยคะมองกายใจเป็นหนึ่งเดียวเป้าหมายของโยคะ ก็เพื่อนำมาซึ่งหนทาง วิธีการในอันที่จะช่วยร่างกายและจิตใจให้คงความสมดุล หรือฟื้นฟูความสมดุลให้กลับคืนมาโดยเร็ว เมื่อเกิดการรบกวนขึ้นดังนั้น โยคะจึงผนวกรูปแบบที่เฉพาะเจาะจงในการดูแลกาย เช่น อาสนะ ปราณยามะ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    บนเส้นทางหนังสือ(๘)"การเข้าใจเรื่องทุกข์มีความสำคัญ" ท่านทะไล ลามะ อธิบาย"เพราะมีทางที่จะเป็นอิสระจากทุกข์ โดยขจัดเหตุแห่งทุกข์ มนุษย์สามารถประสบอิสรภาพได้ สภาวะที่ไม่มีทุกข์ หลักทางพุทธนั้นสาเหตุของทุกข์คือ โลภ โกรธ หลง เป็นยาพิษทางจิตใจทั้งสาม คำว่า โง่ หรืออวิชชาในทางพุทธนั้น มีความหมายจำเพาะ ไม่ได้หมายถึงการขาดข้อความรู้ แต่หมายถึงการเห็นผิดในธรรมชาติของตัวเอง และสรรพสิ่ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    ขนมชั้นใบเตยขนมชั้นเป็นอาหารหวานของไทยที่มีมาแต่โบราณ นิยมนำมาใช้ในงานมงคลต่างๆ ในปัจจุบันเราจะหาขนมชั้นที่อร่อยๆกินกันค่อนข้างยาก ขนมชั้นมีวิธีการทำที่ค่อนข้างยุ่งยาก และต้องอาศัยความชำนาญและประสบการณ์พอสมควร โดยเฉพาะการหยอดแป้งแต่ละชั้น ปริมาณของแป้งต้องเท่ากัน จึงจะได้ชั้นที่สวยและสุกทั่วกัน ลักษณะที่ดีของขนมชั้น คือ ขนมทุกชั้นจะต้องสุกและลอกได้เป็นชั้นๆ หน้าเรียบเสมอ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 316 สิงหาคม 2548
    ประเทศไทยต้องตั้งคำถามใหม่จึงจะมีความสุขคำถามที่ผู้คนแห่งยุคสมัยถามกันกำหนดความเป็นไปในสังคม ในสมัยพุทธกาล ผู้คนแถวแม่น้ำคงคาตั้งคำถามว่า "ความจริงคืออะไร ความดีคืออะไร" มีปัญญาชนพยายามตอบคำถามนี้กัน จึงเกิดสำนักอาจารย์ใหญ่ๆ หรือสำนักคิดที่สำคัญๆ เกิดขึ้น ท่ามกลางบรรยากาศเช่นนั้น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงผุดบังเกิดขึ้นเป็นปัญญาชนที่องอาจ เปี่ยมด้วยวิมุติสุข มีอนุสาสนียปาฏิหาริย์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 316 สิงหาคม 2548
    อาหารสุขภาพ...หมอชาวบ้านฉบับนี้ลงเรื่อง "กินตามสี" ของ ผศ.ดร.สุธาทิพ ภมรประวัติ และ "สารต้านอนุมูลอิสระ" ของ ผศ.ดร.ศรีวัฒนา ทรงจิตสมบูรณ์ทั้ง ๒ เรื่องนี้ ล้วนกล่าวถึงประโยชน์ของพืชผักผลไม้ที่มีต่อสุขภาพของคนเรา ในเวลานี้มีกระแสตื่นตัวเกี่ยวกับอาหารสุขภาพ และมีผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพออกมาจำหน่ายมากมาย ผลิตภัณฑ์เหล่านี้มีอยู่หลายรูปแบบ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 316 สิงหาคม 2548
    วัคซีน (Vaccine)รู้ไหมว่า"วัคซีน" มีที่มาที่ไปอย่างไร? เกี่ยวข้องกับไข้ทรพิษ (smallpox) ฝีดาษอย่างไร?ไข้ทรพิษ (ฝีดาษ)ไข้ทรพิษเป็นโรคติดต่อที่ร้ายแรงโรคหนึ่ง ผู้ติดเชื้อจะมีตุ่มพุพองตามร่างกายและมีอัตราการตายสูง ดังนั้นการป้องกันจึงเป็นสิ่งสำคัญ มีบันทึกถึงเรื่องไข้ทรพิษครั้งแรกในประเทศจีน เมื่อลูกชายของนายกรัฐมนตรี หวังตัน (Wang Tan)เสียชีวิตจากโรคไข้ทรพิษ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 316 สิงหาคม 2548
    ปัญจขันธ์ กระตุ้นภูมิคุ้มกัน ต้านอนุมูลอิสระปัญจขันธ์ พืชล้มลุกชนิดเถาเลื้อยที่ขึ้นเองตามธรรมชาติมีในประเทศไทย อยู่ในวงศ์แตง แต่คนไทยเพิ่งจะเริ่มปลูกและให้ความสนใจเมื่อไม่นานมานี้ ในขณะที่คนจีนในภาคใต้ของประเทศนำปัญจขันธ์มาบำรุงร่างกายกันนานแล้ว โดยคนจีนรู้จักกันในชื่อ เจียวกู่หลาน หรือเซียนเฉ่า (สมุนไพรอมตะ) และเริ่มแพร่หลายเข้าไปในประเทศญี่ปุ่นตั้งแต่ช่วงปี พ.ศ. ๒๕๑๓ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 316 สิงหาคม 2548
    ดัดตน แก้คอเคล็ด ไหล่ขัดนอนไม่ถูกวิธี มีสิทธิ์ปวดคอได้ปกติทุกวันพุธผมจะอยู่ประจำที่คลินิกของผม วันพุธที่ ๑๘ ที่ผ่านมา คนไข้คนแรกมาหาผมบอกว่าปวดคอและตึงไหล่มาก แถมเป็นมานานแล้วด้วย คนที่ ๒ เป็นคนไข้เก่าที่เคยมาหาด้วยอาการปวดหลัง แล้วหายไปนานนับ ๓ ปี แต่คราวนี้กลับมาหาผมด้วยอาการใหม่ คนที่ ๓ เป็นคนไข้ใหม่ที่ยังไม่เคยมาพบผม มีหมอนวดแถวถนนพระรามเก้าแนะนำเขาให้มาหาผม แปลกที่ว่า ทั้ง ๓ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 316 สิงหาคม 2548
    กินตามสี อาหารเพื่อสุขภาพ ๕ สีปัจจุบันประชากรในประเทศตะวันตก เช่น สหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป ไม่ประสบปัญหาการขาดธาตุอาหาร ๕ หมู่ อันได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ และวิตามินอีกต่อไปแต่ประชากรดังกล่าวก็ยังมีโรครุมเร้าอยู่มากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มวัยกลางคนและผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในเมืองใหญ่ ได้แก่ โรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันความดันเลือดสูง โรคข้อเข่าเบาหวาน ...