บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 332 ธันวาคม 2549
    อัมพฤกษ์ถาม : เดช/นครพนมปัจจุบันอายุ 70 ปี เป็นอัมพฤกษ์มา6 ปีแล้วและเป็นโรคหัวใจด้วย แขนซ้ายไม่มีแรง เวลาขึ้นบันไดต้องใช้มือจับราวบันไดควรจะบริหารร่างกายอย่างไร โดยเฉพาะแขนและขา เวลาเดินขึ้นบันไดจะได้คล่องขึ้น ตอบ : นพ.สุรชัย ปัญญาพฤทธิ์พงศ์หลักการบริหารร่างกายแขนและขาสำหรับผู้ป่วยอัมพฤกษ์โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นโรคหัวใจด้วย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 332 ธันวาคม 2549
    เปลือกตากระตุกถาม : ธนกร/ราชบุรีอาการเปลือกใต้ตากระตุกข้างขวามีสาเหตุจากอะไร มีอะไรกระตุ้นให้เกิดขึ้นบ้างน้ำอัดลม กาแฟ การอดนอน ความเครียด สุราและบุหรี่ มีส่วนเกี่ยวข้องบ้างไหมการรักษาตากระตุกควรทำอย่างไร และใช้ยาอะไรรักษามีผลข้างเคียงต่อผู้ใช้หรือไม่อย่างไร รักษาได้ที่ไหนบ้างตอบ : นพ.ณวัฒน์ วัฒนชัยปัญหาเปลือกตากระตุกมักเกิดจากการยิงสัญญาณประสาทตามเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 332 ธันวาคม 2549
    โรคคาโรชิ ถาม : ทะนง/สิงห์บุรีโรคคาโรชิ คืออะไร? ตอบ : นพ.มานพ พิทักษ์ภากรโรคคาโรชิ (Karochi syndrome) มีรายงานครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่นสืบเนื่องจากญี่ปุ่นเป็นประเทศอุตสาหกรรมที่มีความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว แม้จะได้รับความเสียหายใหญ่หลวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2คนญี่ปุ่นมีความขยัน อดทน และมีความรักต่อสถาบันสถานที่ทำงานของตน มีความมุมานะ ทำงานหามรุ่งหามค่ำ การศึกษาเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 332 ธันวาคม 2549
    ดัดตนแก้ลมในเท้าเมื่อหลายสัปดาห์ก่อนมีสุภาพบุรุษอายุประมาณ 40 ปี เข้ามาหาผมที่คลินิก เธอบอกว่าเวลาเดินจะมีอาการปวดมากไม่สามารถลงเท้าได้เต็มฝ่าเท้า เธอไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาล แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นพังผืดเกาะฝ่าเท้า ได้รับยามากินแต่ก็ยังไม่ดีขึ้นผมจึงถามสาเหตุของอาการ เธอบอกว่านอนหลับอย่างปกติ แต่พอตื่นขึ้นมาก็รู้สึกปวดที่กลางฝ่าเท้า พอเดินก็จะรู้สึกปวด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 329 ตุลาคม 2549
    กล้วย...ลดอันตรายจากความดันเลือดผลกล้วยสุกอุดมไปด้วยน้ำตาลธรรมชาติ ๓ ชนิด คือ ซูโครส ฟรักโทส และกลูโคส และมีเส้นใยอาหาร ให้พลังงานทันทีและอยู่ได้นาน เป็นอาหารของแบคทีเรียพวกโพรไบโอติกที่ช่วยการดูดซึมสารอาหารในลำไส้ใหญ่ผลกล้วยใช้เป็นอาหารได้ทั้งสุกและดิบ ช่อดอกที่เรียกว่าหัวปลีอุดมด้วยคุณประโยชน์ทางโภชนาการ เหง้า ลำต้น ใบ... คุณรู้จักกล้วยแต่เพียงแค่นี้หรือ ชื่อวิทยาศาสตร์ Musa ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 330 ตุลาคม 2549
    การออกกำลังป้องกันโรคกระดูกพรุนในปัจจุบันมีคนเป็นโรคกระดูกพรุนกันมาก เพราะขาดการออกกำลัง กระดูกที่อยู่เฉยๆ จะพรุน แต่ถ้าต้องรับน้ำหนักหรือถูกดึงจะไปกระตุ้นเซลล์สร้างกระดูกที่เรียกว่า ออสทีโอบลาสต์ (osteoblast) ให้ทำงานหญิงสูงอายุในเมืองจะเป็นโรคกระดูกหักง่าย โดยเฉพาะที่ข้อสะโพก แต่พวกย่า พวกยาย ตามท้องไร่ท้องนากระดูกแข็งไม่หักง่าย สมัยนี้มีการใช้ฮอร์โมนบ้าง แคลเซียมบ้าง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 330 ตุลาคม 2549
    รังแคที่ผิวหน้า เซ็บเดิร์ม...ภัยผิวหน้าหน้าหนาวเดือนตุลาคมบรรยากาศปลายฝนต้นหนาว เริ่มมีสายลมหนาวพัดเข้ามา อากาศเย็นสบาย แต่มีหลายคนบ่นว่ามีผื่นคันที่ผิวหน้าสังเกตกันให้ดีๆ พบว่าเมื่อลมหนาวโชยมาบวกกับความชื้นสัมพัทธ์ต่ำ จะส่งผลให้เกิดปัญหาผิวหนังคืออาการคันหลายคนเข้าใจผิดคิดว่าอาการคันเหล่านี้เกิดจาก ผิวแห้งหรือจากความสกปรก จึงใช้สบู่กระหน่ำฟอกถูทาบริเวณนั้นมากขึ้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 330 ตุลาคม 2549
    ผักตำลึง : อาหารสมุนไพรริมรั้วน้ำมันแพง! เอ แล้วมันเกี่ยวข้องกับสุขภาพตรงไหนเล่า สิ่งแรกที่เกิดขึ้นเมื่อน้ำมันแพงคือความเครียด รายได้ของคุณหมดไปกับค่าน้ำมัน ค่ารถเมล์ และรายจ่ายในชีวิตประจำวันที่สูงขึ้นมากกว่าเดิม แต่รายรับยังเท่าเดิมหรือลดลง เรามาลองลดรายจ่ายและสร้างสุขภาพกันดีกว่า หันกลับไปหาเศรษฐกิจพอเพียงใกล้ตัวกันดีไหม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 330 ตุลาคม 2549
    กินอย่างไร...ป้องกันภัยโรคกระดูกพรุน "...ปัญหาโรคกระดูกพรุนในทวีปเอเชียกำลังทวีความรุนแรงขึ้น เนื่องจากประชาชนในภูมิภาคนี้มีอายุยืนยาวขึ้น ในอนาคตปัญหากระดูกสะโพกหักทั่วโลก จากผลของโรคกระดูกพรุน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 330 ตุลาคม 2549
    ดัดตนแก้เส้นทั่วสารพางค์ระยะนี้ฝนตกชุกมากทำให้เกิดน้ำท่วมหลายแห่งและคนก็เริ่มเป็นไข้หวัดกันมาก สมัยที่ผมเป็นเด็ก คุณแม่จะทำแกงส้มดอกแคให้กินเป็นประจำเกือบทุกวัน ป้องกันการเป็นไข้หัวลม หากยังเป็นไข้คุณแม่ก็ใช้สมุนไพรเหมือดคนฝนกับยาเขียวหอมให้กิน ถ้ามีอาการคัดจมูกหายใจไม่ค่อยออกก็จะใช้หอมแดงทุบใส่ลงในน้ำร้อนจัดๆ แล้วให้ดม จมูกก็จะโล่งดี แต่ถ้ายังไม่หายคุณแม่ก็จะซื้อยาประสะนอแรดให้กิน ...