บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 342 ตุลาคม 2550
    เด็กดูดนิ้วถาม : เมทินี/กรุงเทพฯลูกสาวของดิฉันอยู่ชั้นเด็กเล็ก อายุเกือบ ๒ ขวบแล้ว ก่อนหน้านี้ไม่เคยดูดนิ้ว แต่ต่อมาดูดนิ้วตามเพื่อนจากโรงเรียน จะต้องทำอย่างไรให้เลิกดูดนิ้ว ตอบ : พญ.วินัดดา ปิยะศิลป์วิวัฒนาการใหม่ๆ ทำให้เราเรียนรู้ถึงพฤติกรรมของทารก ในครรภ์ระยะท้ายๆ ที่เอานิ้วเข้าปาก ทำท่าดูด กลืนเอาน้ำคร่ำลงไป เชื่อว่าเป็นส่วนหนึ่งในการเตรียมตัว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 342 ตุลาคม 2550
    ลูกติดซีดีเด็กถาม : ศศิธร/กรุงเทพฯดิฉันมีลูก ๒ คน ลูกชายคนโตอายุ ๔ ขวบ คนเล็กอายุ ๖ เดือน ก่อนหน้านั้นเมื่อยังไม่คลอดลูกชายคนเล็ก คือคนโตอายุ ๑-๒ ขวบ จะน่ารักมาก พูดอะไรเข้าใจทุกอย่าง บอกให้อาบน้ำ ก็อาบ บอกให้แต่งตัว ก็ยอมให้แต่ง พูดง่ายๆ คือเชื่อฟังทุกอย่าง แต่ซนบ้างตามประสา เด็ก๑.ขณะนี้คนโต ๔ ขวบ เริ่มดื้อ ไม่ค่อย เชื่อฟัง เข้าใจว่า อาจเรียกร้องความสนใจ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 342 ตุลาคม 2550
    ประเวศ วะสีร่วมด้วยช่วยกันเยียวยาโลก ธรรมสัญจรสู่มูลนิธิพุทธฉือจี้๑๒ เขียนถึงการประชุมยามเช้าที่สมณาราม ทำให้นึกถึงการประชุมที่เรียกว่า morning report ในโรงพยาบาลที่ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ที่ผมเคยเป็นหัวหน้าภาควิชา ทุกเช้า คณาจารย์และแพทย์ประจำบ้านจะมาพบกันเพื่อรับฟังรายงานว่าใน ๒๔ ชั่วโมงที่ผ่านมารับคนไข้ไว้กี่คน เป็นอะไรบ้าง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 342 ตุลาคม 2550
    ศศพินทุ์ ดิษนิล, ริญ เจริญศิริ สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดลแกงคั่วหอยแครงใบชะพลูชะพลู เป็นผักที่ใช้ปรุงอาหารได้หลายชนิด เช่น ใบอ่อนและยอดใช้กินสดเป็นผักจิ้มน้ำพริก หรือห่อเมี่ยงคำ ลักษณะใบเป็นรูปหัวใจ คล้ายใบพลูที่ใช้กินกับหมาก แต่ใบชะพลูมีขนาดเล็กกว่า มีรสชาติเผ็ดซ่าเล็กน้อย มีดอกเป็นช่อรูปทรงกระบอก สีขาวและค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีเขียว ใช้ทำยาได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 342 ตุลาคม 2550
    เดชา ศิริภัทร มูลนิธิข้าวขวัญมณฑา : กลิ่นหอมจากสรวงสวรรค์คนไทยสมัยก่อนนิยมตั้งชื่อด้วยภาษาไทยแท้ ทั้งชื่อจริงและชื่อเล่น ผิดกับปัจจุบันที่นิยมตั้งชื่อจริงด้วยภาษา สันสกฤต และตั้งชื่อเล่นเป็นภาษาอังกฤษ สำหรับหญิงไทยในอดีต นิยมตั้งชื่อตามชื่อดอกไม้ ที่งดงามหรือมีกลิ่นหอม ยิ่งถ้าเป็นดอกไม้ที่มีทั้งความงามและความหอมในดอกเดียวกันก็จะยิ่งนิยมมากขึ้น เช่น กุหลาบ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 341 กันยายน 2550
    นพ.ประเวศ วะสีแพทยศาสตร์ศึกษาที่มีหัวใจของความเป็นมนุษย์วันที่ ๒๔ กันยายนของทุกปี วงการแพทย์ถือเป็น"วันมหิดล" ที่ศิริราชจะมีพิธีถวายบังคมพระบรมราชานุสาวรีย์ของ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หรือสมเด็จพระราชบิดาของวงการแพทย์ไทยสมเด็จพระราชบิดาทรงสอนนักศึกษาแพทย์ว่า "ฉันไม่ได้ ต้องการให้เธอเป็นแพทย์เท่านั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 341 กันยายน 2550
    นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพระวังภัยมืดจากปลาปักเป้ามีผู้ป่วยรายหนึ่งหลังจากกินก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลาได้ไม่นาน ก็มีอาการรู้สึกชาและเสียวๆ ที่ริมฝีปาก ร่วมกับอาการปวดท้องอาเจียน ถ่ายเป็นน้ำแบบอาการท้องเสียหรืออาหารเป็นพิษ ได้ไปตรวจที่โรงพยาบาล ระหว่างรอหมอก็เริ่มรู้สึกกล้ามเนื้ออ่อนเปลี้ย ไม่ค่อยมีแรง แขนขาอ่อนแรง พูดลำบาก หายใจลำบาก แพทย์เห็นอาการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 341 กันยายน 2550
    นพ.บรรลุ ศิริพานิชอาหารและโภชนาการสุขภาพ หมายถึง ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญา ทางสังคม เชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุล อาหารเป็นปัจจัยที่สำคัญทำให้คนเรา มีสุขภาพดี การที่เราสามารถเป็นคนอยู่ได้ทุกวันนี้ก็เพราะอาหาร ถ้าขาดอาหารเมื่อใดชีวิตก็ไม่สามารถที่จะอยู่ได้อาหารที่กินเข้าไปทุกวันนี้มีมากมายหลาย ชนิด แต่ถ้าจะจัดกลุ่มอาหาร มีนักวิชาการจัดอาหารออกเป็น ๕ กลุ่มใหญ่ๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 341 กันยายน 2550
    นพ.สุพร เกิดสว่าง ศาสตราจารย์เกียรติคุณ มหาวิทยาลัยมหิดล และนักวิจัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขมองเพศที่ ๓อย่างเข้าใจการเป็นเกย์และกะเทยส่วนหนึ่งมาจากอิทธิพลของฮอร์โมนเพศตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา นอกนั้นคือสิ่งแวดล้อม สังคมและการเลี้ยงดูในครอบครัวเพศที่ ๓ กับสังคมคนทั่วไปส่วนใหญ่ยังมีความสับสนเรื่องผู้ชายที่รักผู้ชายด้วยกันหรือ ผู้ชายที่มีกิริยามารยาทคล้ายผู้หญิง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 341 กันยายน 2550
    นพ.ภาสกิจ (วิทวัส) วัณนาวิบูลผลิตภัณฑ์อาหาร เพื่อสุขภาพมองจากทัศนะแพทย์แผนจีน (๓)ระบบการย่อย การดูดซึมอาหารไม่มีระเบียบ ไร้กฎเกณฑ์ เกิดจากการกินอาหารจุบจิบ ตามอารมณ์เทคนิคการกินอาหารเพื่อสุขภาพ๑.การกินข้าวต้มหรือโจ๊กเหมาะเป็นอาหารมื้อเช้าสำหรับคนที่มีระบบการย่อยและดูดซึมไม่ค่อยดีช่วงตื่นนอนตอนเช้า ระบบการย่อยอาหารของเรา เพิ่งจะเริ่มทำงาน (หลังจากพักมาตลอดทั้งคืน) ให้ดื่มน้ำ ...