คุยสุขภาพ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 281 พฤษภาคม 2551
    ปัจจุบันนี้ ห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาลเกือบทุกแห่งให้บริการแก่ผู้ป่วยทุกเพศ ทุกวัย และทุกสาขา เช่น อายุรกรรม ศัลยกรรม สูติ-นรีเวช กุมารเวชกรรม เป็นต้น. บ่อยครั้งที่ผู้ป่วยฉุกเฉินมีความจำเป็นต้องใส่ท่อหลอดลมคอเพื่อช่วยหายใจ เช่น การอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนต้น ภาวะหัวใจล้มเหลวและมีน้ำคั่งในปอด โรคปอดบวม การบาดเจ็บรุนแรง ...
  • วารสารคลินิก 281 พฤษภาคม 2551
    "Clinical picture is not just a photograph of a man sick in bed, it is an impressionistic painting of the patient surrounded by his home, his work, his relations, his friends, his joys, sorrows, hope and fear."Francis Weld Peabody (1881-1927)"Medicine is not only a science, but also the art of letting our own individuality interact with the individuality of the ...
  • วารสารคลินิก 281 พฤษภาคม 2551
    ตัวอย่างกรณีศึกษาของอาการปวด กรณีศึกษาที่ 1 ชายอายุ 65 ปี มีประวัติการเป็นงูสวัด เนื่องจากติดเชื้อ herpes zoster แบบเฉียบพลันในช่วงระยะ 3 เดือนที่ผ่านมา และมีอาการปวดปลายประสาท (postherpetic neuralgia). ภายหลังจากที่บรรเทาจากโรคงูสวัด ผู้ป่วยได้ไปพบแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไปและได้รับยากลุ่ม tricyclic antidepressant แต่ผู้ป่วยไม่สามารถทนอาการข้างเคียงได้ แพทย์จึงได้หยุดยา และได้ให้ยากลุ่ม NSAIDs ...
  • วารสารคลินิก 281 พฤษภาคม 2551
    ตัวอย่างผู้ป่วยหญิงไทยอายุ 35 ปีมาด้วยอาการปวดท้องและท้องอืดแน่นนาน 3 วันก่อนมาโรงพยาบาลร่วมกับอาการคลื่นไส้อาเจียนมากและกินอาหารไม่ได้เลยประมาณ 2 สัปดาห์ก่อนหน้านี้ ผู้ป่วยได้รับยาฉีดและกินยากระตุ้นให้ไข่ตกเพื่อทำการปฏิสนธินอกร่างกาย (In vitro fertilization) (ภาพที่ 1). การตรวจร่างกายแรกรับพบว่า ผู้ป่วยมีชีพจรเต้นเร็วร่วมกับลักษณะการขาดน้ำอย่างมาก ...
  • วารสารคลินิก 281 พฤษภาคม 2551
    รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2550 ระบุไว้ชัดเจนถึงสิทธิและหน้าที่ของประชาชนในมิติใหม่หลายประเด็น โดยเฉพาะสิทธิของชุมชนภายใต้มาตรา 67 ซึ่งกำหนดไว้ว่า "การดำเนินโครงการ หรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ จะกระทำมิได้ เว้นแต่จะได้ศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน ...
  • วารสารคลินิก 281 พฤษภาคม 2551
    www.niaid.nih.gov/factsheets/tularemia.htm เมื่อเร็วๆ นี้ ได้มีรายงานผู้ป่วยชาวไทยเป็นโรค tularemia นับเป็นรายแรกของประเทศไทย ผู้เขียน ได้ค้นหาเว็บไซต์ที่สร้างสำหรับเรื่องนี้โดยตรง แต่ยังไม่พบ จึงขอนำ factsheet ของ National Institute of Allergy and Infectious Diseases ของ NIH มานำเสนอแทน.Tularemia บางครั้งเรียกว่า rabbit fever หรือ deerfly fever เกิดจากเชื้อ Francisellar tularensis ...
  • วารสารคลินิก 281 พฤษภาคม 2551
    "ภาพหนึ่งภาพอาจมีความหมายมากกว่าอักษรนับร้อยนับพันคำ การเรียนรู้จากภาพจริงเกี่ยวกับผู้ป่วย คือที่มาของ " ปริศนาคลินิก" ซึ่งบรรจุเนื้อหาอันเป็นปริศนาที่เลือกสรรอย่างบรรจงจากวิทยากรเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน"สมนึก สังฆานุภาพ พ.บ.รองศาสตราจารย์, หน่วยโรคติดเชื้อ, ภาควิชาอายุรศาสตร์, คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ...
  • วารสารคลินิก 281 พฤษภาคม 2551
    Q มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนอะไรได้บ้าง?A ภาวะแทรกซ้อนอาจเกิดได้หลังผ่าตัด ดังนี้Early complications1. Seroma formation ที่ตำแหน่งด้านหลังที่เลาะเอา LD flap ออกไป เกิดขึ้นได้บ่อยที่สุด มีรายงานว่าอุบัติการณ์สูงถึงร้อยละ 60-80 ของการผ่าตัด.17,19-212. Wound infection, wound hematoma.3. Partial flap necrosis. Late complications1. Hypertrophic scar.2. Contour deformity at back.3. Asymmetrical ...
  • วารสารคลินิก 281 พฤษภาคม 2551
    ค.ศ. 1732  ที่ประเทศ Iceland เกิดโรคประหลาดในแกะ โดยแกะที่ป่วยจะสูญเสียการประสานงานของอวัยวะทำให้ก้าวเดินตามปกติไม่ได้ ที่สำคัญคือ จะมีอาการคันมากจนต้องเอาตัวไปครูด (scrape) กับสิ่งที่อยู่รอบตัวจนขนร่วงหมด. โรคนี้จึงมีชื่อว่าโรค Scrapie เมื่อตรวจดูสมองจะเห็นเป็นรูพรุนคล้ายฟองน้ำ (sponge) โรคนี้จึงจัดอยู่ในกลุ่ม Spongiform Encephalopathy. ค.ศ. 1921 Alfons Maria Jakob (1884-1931) และ ...
  • วารสารคลินิก 281 พฤษภาคม 2551
    มีคำกล่าวว่า คนเก่งคนมีความสามารถมักมีอัตตาสูง...คำกล่าวนี้เป็นจริงหรือไม่ ?แต่เหตุการณ์จำลองต่อไปนี้ เป็นเหตุการณ์จริง เกิดขึ้นที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่ง ในเช้าวันที่มีคนไข้มารอรับการตรวจรักษามากมาย เรามาดูกันครับคุณเกศินีก็เป็นคนไข้รายหนึ่งที่มาตรวจในเช้าวันนั้น ด้วยอาการเจ็บแน่นหน้าอก เธอเป็นโรคหัวใจขาดเลือดและเคยผ่าตัดเปลี่ยนหลอดเลือดหัวใจมาเมื่อ 5 ปีก่อน ...