โรคตามระบบ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 160 สิงหาคม 2535
    ต้อกระจก“นัยน์ตา” เป็นอวัยวะที่สำคัญมากอย่างหนึ่งของมนุษย์ เพราะนอกจากจะทำให้เราได้เรียนรู้ทุกสิ่งทุกอย่างจากภาพที่มองเห็นแล้ว นัยน์ตายังสามารถแสดงความหมายแทนคำพูดได้อย่างมหัศจรรย์ ดังที่มีผู้กล่าวว่า “ภาพ 1 ภาพ มีค่ามากกว่าคำพูดนับพันคำ” เนื่องจากภาพที่เรามองเห็นจะมีความหมายสมบูรณ์อยู่ในตัวเองจนยากที่จะหาคำบรรยายใดๆ มากล่าวแทนได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 159 กรกฎาคม 2535
    น้ำปัสสาวะมาจากไหนช่วงนี้เป็นหน้าฝน อากาศโดยทั่วไปค่อนข้างจะเย็นฉ่ำ ร่างกายจึงไม่ค่อยเสียน้ำไปทางเหงื่อเท่าใดนัก ยิ่งถ้าใครทำงานอยู่ในห้องแอร์ด้วยแล้ว จะรู้สึกได้เลยว่าตนเองเข้าห้องน้ำเพื่อขับถ่ายปัสสาวะมากกว่าในช่วงหน้าร้อน ทั้งที่คุณเองก็ดื่มน้ำน้อยลงกว่าเดิมด้วยซ้ำไป แต่ไม่ว่าคุณจะดื่มน้ำมากน้อยเพียงใด ร่างกายจะต้องพยายามรักษาระดับน้ำภายในให้อยู่ในระดับที่สมดุลอยู่เสมอ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 159 กรกฎาคม 2535
    โรคหัวใจขาดเลือดข้อน่ารู้1.หัวใจของคนเราทำหน้าที่เหมือนเครื่องปั๊มน้ำ เพื่อสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงทั่วร่างกาย ตัวมันเองประกอบด้วยกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อที่ต้องการเลือดไปเลี้ยงเช่นเดียวกับอวัยวะส่วนอื่นๆ หลอดเลือดที่นำเลือดไปเลี้ยงหัวใจ ภาษาหมอเรียกว่า หลอดเลือดหัวใจ หรือ หลอดเลือดโคโรนารี (coronary artery) ซึ่งมีอยู่หลายแขนง แต่ละแขนงจะแยกกันไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจส่วนต่างๆ2. ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 158 มิถุนายน 2535
    เจ็บเสียวชายโครงเพราะวิ่งเคยนึกสงสัยตัวเองครามครันอยู่เหมือนกันว่า ทำไมเวลาเดินเร็วๆ หรือวิ่งบางครั้งจะรู้สึกเจ็บบริเวณชายโครง คราวนี้จึงได้ฤกษ์พิสูจน์ความสงสัยส่วนตัวเสียที และเชื่อว่าท่านผู้อ่านหลายท่านก็คงกังขาเช่นเดียวกันอาการเจ็บเสียวชายโครง เป็นอาการ “ตะคริว” ที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันทันใดในบริเวณกล้ามเนื้อกะบังลม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 158 มิถุนายน 2535
    เมื่อฟันอักเสบหากท่านไปพบทันตแพทย์ด้วยอาการปวดฟันสุดแสนทรมาน แล้วทันตแพทย์แนะนำให้ท่านถอนฟัน ท่านจะรู้สึกทรมานใจมากเสียกว่าความปวดทรมานจากโรคฟันหรือไม่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 158 มิถุนายน 2535
    โรคบิดชิเกลล่าข้อน่ารู้1. โรคบิดในที่นี้ หมายถึง อาการถ่ายเป็นมูกหรือมูกปนเลือดกะปริดกะปรอยบ่อยครั้ง สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่เรียกว่า ชิเกลล่า (shigella) ซึ่งติดต่อโดยทางอาหารการกิน เราเรียกโรคบิดชนิดนี้ว่า “โรคบิดชิเกลล่า”2. โรคนี้พบในคนทุกเพศทุกวัย สามารถป้องกันได้ด้วยการกินอาหารสุก ไม่มีแมลงวันตอม และดื่มน้ำสะอาด3. อันตรายของโรคนี้ คือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 157 พฤษภาคม 2535
    ลำไส้ไม่ว่าหน้าตาและรสชาติของอาหารคุณจะมาจากครัวระดับใด จากโรงแรมชั้นหนึ่งหรือจากร้านข้างถนน แต่สุดท้ายอาหารทุกจานที่ถูกจัดแต่งไว้อย่างดีเลิศ เช่น อาหารฮ่องเต้ หรือที่ดูไม่ค่อยน่ากินอย่างต้มจับฉ่าย ก็จะถูกย่อยลงไปรวมกันที่ลำไส้ในท้องคุณทั้งหมดลำไส้เปรียบได้กับโรงงานที่ทำหน้าที่เปลี่ยนรูปอาหารให้เป็นส่วนที่เล็กลงจนร่างกายสามารถดูดซึมไปใช้ได้ เช่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 157 พฤษภาคม 2535
    เอสแอลอี- โรคภูมิแพ้ต่อตัวเองข้อน่ารู้1. เอสแอลอี ชื่อโรคประหลาดนี้เรียกทับศัพท์ภาษาอังกฤษจากคำว่า SLE ซึ่งย่อมาจาก “Systemic lupuserythematosus” (ซิสเตมิก-ลูปัส-อีริทีมาโตซัส) เนื่องจากชื่อเต็มนี้ยาวและเรียกยาก ฝรั่งจึงนิยมเรียกว่า SLE แทน ไทยเรายังหาคำที่เหมาะๆไม่ได้ จึงเรียกทับศัพท์ว่า เอสแอลอี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 157 พฤษภาคม 2535
    กว่าจะเป็นนางงามเมื่อวันที่ 28 มีนาคมที่ผ่านมา ท่านผู้อ่านหลายท่านคงยังจำบรรยากาศอันน่าชื่นตาชื่นใจได้เหมือนผมที่ได้เห็นกลุ่มสาวงามที่งามที่สุดจำนวนหนึ่งของประเทศไทย มาปรากฏโฉมให้พวกเราได้ชมทางจอโทรทัศน์ แต่ละคนล้วนสวยงาม โดยเฉพาะใบหน้าและรอยยิ้มที่ประทับใจผู้ชม ทุกคนล้วนยิ้มกันได้อย่างกว้างขวาง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 132 เมษายน 2533
    เอดส์กับการบริจาคเลือดเมื่อเร็วๆนี้ ผู้เขียนแวะไปบริจาคเลือดที่แผนกคลังเลือดของโรงพยาบาลใหญ่แห่งหนึ่ง ก็ได้ถือโอกาสพูดคุยกับเจ้าหน้าที่ที่รับบริจาคเลือด“6 เดือนหลังนี้ พบคนที่บริจาคเลือดมีเอชไอวีโพสิทีฟมากขึ้นกว่าระยะก่อนมาก” เจ้าหน้าที่ที่นั่นเล่าให้ฟังเลือดทุกขวดที่รับบริจาคจะตรวจหาเชื้อเอดส์ ซึ่งภาษาอังกฤษเรียกว่า “เอชไอวี” (HIV ย่อมาจาก human immunodeficiency ...