บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 367 พฤศจิกายน 2552
    ขึ้นชื่อว่า "ว่าน" ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้นิยามไว้ว่า "ว่าน คือพืชที่มีหัวบ้าง ที่ไม่มีหัวบ้าง ใช้เป็นยาบ้าง ใช้อยู่ยงคงกระพันบ้าง" ว่านส่วนใหญ่มักเป็นพืชมีหัว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 367 พฤศจิกายน 2552
    วันที่ 14 พฤศจิกายน เป็นวันเบาหวานโลก ซึ่งทั่วโลกจะได้จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของโรคนี้ ช่วยกันหาทางป้องกันและควบคุมโรคให้ลดความพิการและความสูญเสียลงเบาหวานได้ชื่อว่าเป็น "ภัยเงียบ" หรือ "เพชฌฆาตมืด" (silent killer) เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฏอาการ ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะรู้สึกแข็งแรงเช่นคนปกติทั่วไป จะไม่รู้ว่าตัวเองมีโรคเบาหวานซ่อนเร้นอยู่ ซึ่งจะค่อยๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 367 พฤศจิกายน 2552
    มะระขี้นกเป็นผักพื้นบ้านที่มีอยู่ทั่วไปทั่วทุกภาคของประเทศไทย จัดเป็นพันธุ์หนึ่งของมะระจีน ¾ชื่อวิทยาศาสตร์ Momordica charantin Linn¾วงศ์ Cucurbitaceae¾ชื่ออังกฤษ Balsam apple, Balsam pear, Bitter cucumber, Bitter gourd, Bitter melon, Carilla fruit¾ชื่ออื่นๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 367 พฤศจิกายน 2552
    ปัจจุบันผักพื้นบ้านได้รับความสนใจจากผู้บริโภคมากขึ้น มีการนำผักพื้นบ้านมาดัดแปลงทำอาหารได้หลากหลายขึ้น ขจรเป็นพันธุ์ไม้โบราณของไทย แต่ละภาคก็มีชื่อเรียกที่แตกต่างกันออกไป บางที่ก็เรียกดอกสลิด บางที่ก็เรียกดอกขจร ลำต้นเป็นไม้เถาเลื้อยพันต้นไม้ใหญ่ดอกขจรเป็นพืชพื้นบ้าน มีสีเขียวอมเหลือง มีกลิ่นหอม ดอกเป็นพวงคล้ายพวงอุบะ ดอกขจรเมื่อสุกจะนุ่มปากและออกรสหวาน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 367 พฤศจิกายน 2552
    เมื่อเดือนกันยายนที่ผ่านมา มูลนิธิแพทย์ชนบทประกาศผลและมอบรางวัล แพทย์ชนบทดีเด่น ประจำปีพ.ศ.2552 โดยมีนายแพทย์บรรลุ ศิริพานิช อดีตรองปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นผู้มอบรางวัลรางวัล "แพทย์ชนบทดีเด่น กองทุนนายแพทย์กนกศักดิ์ พูลเกษร" เป็นกองทุนในมูลนิธิแพทย์ชนบทที่จัดตั้งขึ้นเพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติแก่แพทย์ชนบทที่ปฏิบัติงานด้วยความอดทน ตั้งใจ และเสียสละ ในเขตเสี่ยงภัยและทุรกันดาร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 367 พฤศจิกายน 2552
    แม้ประเทศไทยเราจะมีความอุดมและหลากหลายทางชีวภาพสูง ทั้งพืช ผัก ผลไม้ ต้นไม้และสัตว์น้อยใหญ่ แต่วิถีชีวิตปัจจุบันที่มีปัจจัยทางเทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้องทำให้การพึ่งพาอาศัยระหว่างมนุษย์และธรรมชาติลดน้อยลง เกิดการเบียดเบียนและทำลายทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้นทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อเป็นการสร้างสมดุลชีวิตให้สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อม และเพื่อการเป็นอยู่อย่างยั่งยืนและมั่นคง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 367 พฤศจิกายน 2552
    หากสังคมคือชุมชนย่อยที่เป็นจุดเริ่มต้นที่ดีในการเปลี่ยนแปลง... เยาวชน คือแรงขับเคลื่อนส่วนหนึ่งที่จะช่วยผลักดันสังคมให้มีการเปลี่ยนแปลงที่ดี... พื้นที่และโอกาส คือสิ่งที่จะช่วยเปิดพลังความคิดสร้างสรรค์ พลังการทำดีของเยาวชนให้ปรากฏ"ทุกคนสามารถทำงานสร้างสรรค์ในแนวทางของตัวเองได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นคนดังมีชื่อเสียงใดๆ" คุณกิติมาภรณ์ จิตราทร กล่าวไว้ในงานเสวนา "เยาวชน...ตัวป่วน หรือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 367 พฤศจิกายน 2552
    ในการประชุมโภชนาการนานาชาติ ครั้งที่ 19 ณ ศูนย์ประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ เมื่อวันอังคารที่ 6 ตุลาคม พ.ศ.2552 ดร.เค ศรีนาท เรดดี้ (Dr.K Srinath Reddy) จากมูลนิธิสาธารณสุขสุขภาพอินเดีย ประเทศอินเดีย ได้บรรยายหัวข้อ "ความร่วมมือในระดับนานาชาติเพื่อต่อสู้กับโรคอ้วนและโรคเรื้อรัง" ว่าการเกิดปัญหาภาวะโภชนาการเกินมีความสัมพันธ์กับเศรษฐฐานะของประชากร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 367 พฤศจิกายน 2552
    สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข จัดงาน "ใคร? ขโมยความจำ...ของฉันไป" กิจกรรมให้ความรู้ประชาชน เนื่องในวันอัลไซเมอร์โลก (World Alzheimer's Day) 21 กันยายน ที่ผ่านมา งานนี้จัดขึ้นเพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของโรคอัลไซเมอร์ ภายในงานมีการเสวนาเรื่อง "โรคสมองเสื่อม" สาธิตการทำอาหารสำหรับผู้ป่วยสูงอายุ การตรวจวัดความดันและมวลกระดูก การตรวจคัดกรองภาวะสมองเสื่อม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 366 ตุลาคม 2552
    หมอชาวบ้านฉบับเดือนตุลาคม 2552 มีเรื่องเด่นจากปกคือ "ไม่อยากอ้วน...กินอย่างไรดี" ทำให้ผมนึกถึงบุคคล 3 ท่าน ที่ผมได้พบและคุยกับท่านด้วยตนเอง หลายปีมาแล้วผมพบ ดร.วทัญญู ณ ถลาง ผมเกือบจำท่านไม่ได้เพราะท่านดูหนุ่มขึ้นเยอะผมถามว่าท่านไปทำอย่างไรมาท่านว่า "ผมอ่านหมอชาวบ้าน...ไม่ได้กินยาอะไรเลย แต่ออกกำลังทุกวัน ด้วยการเดินวันละหลายชั่วโมง" ท่านว่าน้ำหนักท่านลดไป 18 ...