บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 91 พฤศจิกายน 2529
    การสูบบุหรี่กับโรคถุงลมในปอดพองปอดของผู้ที่สูบบุหรี่จัดจะมีสีดำเนื่องจากเขม่าเข้าไปจับ เป็นที่ทราบกันดีว่าคนที่สูบบุหรี่จะเป็นมะเร็งปอดมากกว่าคนที่ไม่สูบมากมายหลายเท่า คนไม่สูบบุหรี่ที่อยู่ห้องเดียวกับผู้สูบบุหรี่ก็เป็นมะเร็งปอดมากกว่าคนอื่นๆโดยเฉลี่ย เพราะหายใจเอาควันพิษเข้าไป ลูกของผู้ที่สูบบุหรี่จะเป็นโรคทางเดินหายใจอักเสบมากกว่าเด็กอื่นๆ หญิงตั้งครรภ์ที่สูบบุหรี่ก็มีอันตรายต่อลูกในครรภ์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 91 พฤศจิกายน 2529
    หมอไทยทำชื่อผลิตวิตามินเคชนิดหยดสำเร็จแพทย์ไทยทำชื่อเสียงไปทั่วโลก ค้นพบวิธีผลิตวิตามินเคชนิดหยดเป็นผลสำเร็จ แก้ปัญหาเด็กแรกเกิดเป็นโรคเลือดออกในสมอง ต่างประเทศยอมรับนำไปเผยแพร่ทั่วโลกพญ.ภัทรพร อิศรางกูร ณ อยุธยา รองคณบดีคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล และเป็นผู้อำนวยการองค์การฮีโมพีเลียแห่งโลก ภาคพื้นเอเชียอาคเนย์ แสดงว่าจากการค้นคว้าถึง 20 ปี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 91 พฤศจิกายน 2529
    อันตรายจากยาปราบศัตรูพืชอันตรายจากยาปราบศัตรูพืชเกิดขึ้นมาพร้อมๆกับวิทยาการที่ก้าวหน้าไปอย่างไม่หยุดยั้ง และการมุ่งเพิ่มผลผลิตในทางเกษตรกรรม แต่ในขณะเดียวกันเกษตรกรผู้ใช้ก็ได้รับอันตรายถึงขั้นเจ็บป่วย พิการ และเสียชีวิตไปเป็นจำนวนมากนอกจากอันตรายจากยาปราบศัตรูพืชจะเกิดขึ้นกับเกษตรกรโดยตรงแล้ว ยังส่งผลกระทบถึงประชาชนผู้บริโภคผลิตผลจากเกษตรกรรมอีก เช่น ผักสด ผลไม้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 91 พฤศจิกายน 2529
    ภาพแสดงการย่อยและดูดซึมแป้ง
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 91 พฤศจิกายน 2529
    แผลร้ายใต้ลิ้น ภาพนี้แสดงถึงแผลเรื้อรังเป็นเดือนๆ ลักษณะคล้ายดอกกะหล่ำที่ใต้ลิ้นด้านซ้ายของคนไข้โดยไม่รู้สึกเจ็บปวดแต่อย่างไร แผลจะค่อยๆลุกลามออกไปเรื่อยๆ ลักษณะเช่นนี้ก็เดาได้ไม่ยากว่า ไม่ใช่แผลธรรมดาๆเป็นแน่ถูกแล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 91 พฤศจิกายน 2529
    ซีเอ / แคนเซอร์ / คาร์ซิโนมา“คนไข้มีอาการอ่อนเพลีย น้ำหนักลดฮวบฮาบ มักมีสาเหตุจากอะไร?” อาจารย์ไล่ภูมินักศึกษาแพทย์“ทีบีค่ะ” นักศึกษาคนที่ 1 ตอบ“โรคคอพอกเป็นพิษครับ” คนที่ 2 ต่อ“ซีเอของตับครับ” คนที่ 3 ต่อ“เบาหวานค่ะ” คนที่ 4 ต่อถ้าจะไล่ไปเรื่อยๆคงมีสาเหตุนับสิบๆชนิด ข้างบนนี้มีภาษาหมอที่ไม่ใช่คำไทยๆอยู่ 2 คำ ได้แก่ ทีบี และ ซีเอทีบี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 91 พฤศจิกายน 2529
    การตรวจรักษาอาการเจ็บอก (ต่อ)ฉบับที่แล้วได้อธิบายถึงการตรวจรักษาอาการเจ็บอกของไข้ประเภทที่หนึ่งไปแล้ว ในฉบับนี้จะได้กล่าวถึงการตรวจรักษาอาการเจ็บอกของคนไข้ประเภทที่สองต่อไป2. สำหรับคนไข้ประเภทที่สองคนไข้ที่ไม่มีอาการกดเจ็บตรงบริเวณที่บ่นเจ็บ หรือไม่รู้สึกเจ็บมากขึ้นเวลาหายใจเข้าหรือออก เวลาไอจาม หรือเคลื่อนไหวอก ให้การตรวจรักษาดังนี้2.1 ถ้าคนไข้เจ็บอกในเวลากลืนน้ำหรืออาหาร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 91 พฤศจิกายน 2529
    อีริโธรมัยซินในฉบับที่ 89 และ 90 ได้แนะนำยาเพนิซิลลินและพรรคพวก (แอมพิซิลลิน, อะมอกซีซิลลิน) ไปแล้ว ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นพระเอกหรือตัวหลักในการรักษาโรคต่างๆที่กล่าวไว้ทีนี้ก็จะขอแนะนำพระรอง ซึ่งจะออกมาเล่นสลับฉาก กรณีที่คนดูเบื่อพระเอก กล่าวคือ ในกรณีผู้ใช้ยาแพ้ยาเพนิซิลลิน, แอมพิซิลลิน, อะมอกซีซิลลิน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 91 พฤศจิกายน 2529
    เป็ด-เป็ด(ย่าง)ปักกิ่ง⇒ เป็ด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Anas domestica L.พอเอ่ยถึงเป็ดปักกิ่ง ใครๆก็ร้องอ๋อ เป็ดปักกิ่งเป็นอาหารที่ทั่วโลกรู้จักเป็นอย่างดี เป็นศิลปะการกินเป็ด ของชาวจีน ซึ่งมีประวัติอันยาวนานมาแล้วจีนเป็นชาติแรกที่รู้จักการเลี้ยงเป็ด ดังที่บันทึกไว้ในหนังสือ “เอ่อหย่า” จนกระทั่งราวคริสต์ศักราชที่1 ชาวยุโรปจึงค่อยๆรู้จักเลี้ยงเป็ด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 91 พฤศจิกายน 2529
    ริดสีดวงทวาร ความรู้เรื่องการกดจุดเป็นของเก่าแก่และมีมานานหลายพันปีซึ่งเป็นที่ยอมรับของชาวจีน ศาสตร์แห่งการกดจุดได้แพร่หลายไปทั่วโลก ทั้งในอเมริกาและยุโรป โดยเฉพาะในยุโรป Dr.Frank Bahr ท่านเป็นแพทย์ชาวเยอรมัน ...