บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 369 มกราคม 2553
    อารยธรรมตะวันตก อารยธรรมวัตถุไปต่อไม่ได้แล้วโดยไม่เกิดวิกฤติ ไม่มีทางอื่นที่มนุษย์จะรอดจากวิกฤตินอกจากปฏิวัติจิตสำนึกศาสตราจารย์นายแพทย์ประเวศ วะสี ปาฐกถาพิเศษเรื่อง "ระบบการศึกษาที่แก้ความทุกข์ยากของคนทั้งแผ่นดิน" ในงานประชุมวิชาการประจำปีจิตตปัญญาศึกษา ครั้งที่2 เรื่อง "จิตตปัญญา : ทางเลือก หรือทางรอดของสังคม?" จัดโดย ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 369 มกราคม 2553
    จากโครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติฯ ของ บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน) ต่อเนื่องมาถึง "รางวัลลูกโลกสีเขียว" ที่ได้รับความร่วมมือจากผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาต่างๆ โดยมีเป้าหมายเพื่อสนับสนุน เป็นกำลังใจ ยกย่องและเผยแพร่การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของบุคคลและกลุ่มบุคคล เพื่อให้เป็นที่รับรู้สู่สังคมในวงกว้าง เป็นเยี่ยงอย่างของการประกอบสิ่งดีงามในสังคมไทย เป็นแบบอย่างในการนำไปประยุกต์ใช้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 369 มกราคม 2553
    โดยปกติแล้วเมื่อเรามีอาการไม่สบายเล็กๆ น้อยๆ เช่น ปวดหัว เป็นหวัด ตัวร้อน ภูมิแพ้กำเริบ หรือปวดท้อง สิ่งแรกที่คนส่วนใหญ่นึกถึงคือ ยาสามัญประจำบ้าน ปวดหัวกินพาราเซตามอล เป็นหวัดก็มีคลอร์เฟนิรามีนเป็นที่พึ่ง หลังจากกินยาไปแล้วอาการเริ่มดีขึ้น แต่บางรายอาจไม่หายขาด"ความจริงแล้ว อาการเหล่านี้สามารถป้องกันและรักษาให้หายได้โดยไม่ต้องพึ่งยา เพียงแต่ต้องเริ่มรักษาจากต้นเหตุ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 369 มกราคม 2553
    ปัจจุบันพบบ่อยว่าวัยรุ่นให้ความสำคัญกับการมีรูปร่างหน้าตาดี การมีผิวพรรณสดใส ซึ่งก็ไม่ใช่สิ่งที่ผิดอะไร หากหนทางที่ได้มานั้นเป็นไปโดยธรรมชาติ เช่น จากการกินอาหารให้ครบหมู่ และออกกำลังกายสม่ำเสมอ แต่ในความเป็นจริงแล้วกลับพบว่าวัยรุ่นบางส่วนหมกมุ่นอยู่กับการดูแลรูปร่างหน้าตาตนเอง ความอยากมีผิวขาวใส ยอมทุ่มเททั้งเวลาและเงินทองกับสิ่งภายนอกเหล่านี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 369 มกราคม 2553
    คำถาม จะประหยัดค่ายาได้อย่างไร?ค่ายา ปัญหาหนึ่งที่สำคัญต่อการรักษาโรคยิ่งนับวันมนุษย์โลกก็จะมียาชนิดใหม่ๆ มาใช้ในการรักษาโรคต่างๆ ได้มากยิ่งขึ้น ทำให้คนรุ่นใหม่มีทางเลือกในการรักษาด้วยยาเพิ่มมากขึ้นกว่าในสมัยก่อน ส่งผลยกระดับคุณภาพชีวิตและอายุยืนมากขึ้น แต่ท่ามกลางข่าวดีเรื่องการคิดค้นวิจัยและพัฒนายาใหม่ๆ ให้มีทางเลือกในการรักษาพยาบาลมากขึ้นสิ่งหนึ่งที่มาพร้อมกับวิธีการรักษาด้วยยาใหม่ๆ ก็คือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 369 มกราคม 2553
    บางคนเมื่อมีเรื่องขัดใจ หรือมีอารมณ์เครียด ก็เกิดอาการหายใจหอบลึก และมือเท้า 2 ข้างจีบเกร็งคล้ายเป็นตะคริว อาจมีอาการแน่นิ่งไม่พูดไม่จา หรือเอะอะโวยวาย คล้ายเสียสติ สร้างความตกใจให้ญาติพี่น้องหรือเพื่อนฝูงที่พบเห็น บางชุมชนเข้าใจว่าเป็น "โรคผีเข้า" พาไปทำพิธีไล่ผีตามความเชื่อของท้องถิ่นนั้นๆ ซึ่งมักจะหายได้เช่นเดียวกับพาไปรักษาที่โรงพยาบาลอาการดังกล่าวแพทย์เรียกว่า "กลุ่มอาการระบายลมหายใจเกิน" ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 369 มกราคม 2553
    โสน (อ่าน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 369 มกราคม 2553
    ทำไป พักไป ฟังเพลงบ้าง หัวเราะบ้าง และอย่าลืม...ยิ้มในหน้า 'ยิ้มในหน้า' คำที่ปู่พีระ หรือคุณพีระ บุญจริง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 369 มกราคม 2553
    ที่ผ่านมามีคนเถียงกันว่าเวลาจะไปลงทะเบียนเป็นผู้สูงอายุ, ผู้พิการ, ผู้ด้อยโอกาส กับทางราชการเพื่อรับสิทธิอันพึงได้บางอย่างควรใช้คำว่า “ลงทะเบียน หรือ ขึ้นทะเบียน” ดี อย่างไหนจึงจะถูกต้องภาษาไทย เป็นภาษาที่ดิ้นได้ และบางครั้งก็มีความหมายหลากหลายในคำเดียวกัน ในธรรมเนียมปฏิบัติของทางราชการ เราจะใช้คำว่า “ลงทะเบียน” กับปัจเจกบุคคล ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 369 มกราคม 2553
    คำโบราณ "ไม้อ่อนดัดง่าย ไม้แก่ดัดยาก" แม้ในสมัยนี้ก็ยังเป็นความจริง ผู้เขียนไม่อายที่จะบอกว่า "โตมากับไม้เรียว" ไม่ว่าจะเป็นที่บ้าน เวลาทำผิด แม่จะใช้ไม้เรียวกำราบ ซึ่งก็ไม่ใช่เรื่องน่าแปลกใจ ไม่งั้นคงเอาทะโมนไพรอย่างพวกเรา ๓ คนไม่อยู่ เมื่อโตขึ้น ไปโรงเรียนครูก็ใช้ไม้บรรทัดตีมือ นั่นเป็นโรงเรียนอนุบาลที่ครูใจดี พอย้ายไปอยู่โรงเรียนประจำ มีชื่อเสียงในทางดัดสันดาน ...