บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 119 มีนาคม 2532
    “หมอกับชาวบ้านแม้จะเป็นคนไทยเหมือนกัน แต่หมอก็มีวัฒนธรรมแบบหมอ ๆ และชาวบ้านก็มีวัฒนธรรมแบบชาวบ้าน ๆ วัฒนธรรมในที่นี้ หมายถึง ความรู้ ความเข้าใจ ความเชื่อ ค่านิยม ความถนัด ความเคยชิน ธรรมเนียมปฏิบัติ รวมทั้งภาษาในการสื่อสาร “พูดจาภาษาหมอ” มิเพียงแต่เป็นเรื่องของการอธิบายศัพท์เกี่ยวกับสุขภาพเท่านั้น แต่ยังมุ่งหมายให้เป็นสะพานเชื่อมระหว่างวัฒนธรรมย่อยสองระบบเข้าด้วยกัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 119 มีนาคม 2532
    ประชาชนทั่วไปสามารถที่จะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อย ๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80) จะรักษาได้ โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” จะนำเสนอท่านเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้การดูแลรักษาตนเองและผู้อื่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 119 มีนาคม 2532
    คุณเคยพบตัวเองอยู่ในอาการเช่นนี้หรือไม่ เมื่อได้ยินใครพูดล้อเล่นแรง ๆ หรือพูดนินทาถึงตัวเอง และเกิดอาการโกรธ ริมฝีปากสั่น ลิ้นแข็ง ขากรรไกรค้าง ลำคอเปล่งเสียงไม่ออก หรือที่บางครั้งเราล้อกันว่าโดนว่าแค่นี้ “ลิ้นจุกปาก” เลยหรือ คุณทราบหรือไม่ว่าอาการเช่นนั้นเกิดจากอะไรเมื่อคนเรารับฟังเสียงหรือคำพูดต่าง ๆ ผ่านทางหู (ตำแหน่ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 119 มีนาคม 2532
    ชายคนนี้เคยได้รับการผ่าตัดแผลในกระเพาะอาหารมาก่อน บาดแผลเกิดการอักเสบและเนื้อติดกันไม่ดี เมื่อแผลหายผนังหน้าท้องในบริเวณนี้จึงอ่อนแอ มีลักษณะโป่งออกเหมือนลูกโป่ง โดยเฉพาะเวลายืน นั่ง หรือเวลาไอเมื่อหน้าท้องโป่งออกเป็นกระเปาะแบบนี้ ย่อมเปิดโอกาสให้ลำไส้ที่ขดอยู่ภายในช่องท้องไหลเลื่อนลงมาในกระเปาะนี้ได้ จึงเรียก ไส้เลื่อน (hernia) แต่เป็นไส้เลื่อนที่เกิดจากการผ่าตัด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 119 มีนาคม 2532
    งูในบ้านเรามีทั้งชนิดมีพิษและไม่มีพิษมากมายหลายชนิด “การถูกงูกัด” ถ้าสามารถตีงูและนำซากมาตรวจว่างูชนิดใดได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 119 มีนาคม 2532
    โภชนาการ หมายถึง อาหารที่เข้าสู่ร่างกายมนุษย์ แล้วร่างกายสามารถนำไปใช้เป็นประโยชน์ในด้านการเจริญเติบโต การค้ำจุน และการซ่อมแซมส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ดังนั้นการได้อาหารที่เพียงพอและถูกสัดส่วน จึงเป็นสิ่งจำเป็นที่สุดสำหรับมนุษย์ เพื่อให้มีสุขภาพที่แข็งแรงคอลัมน์ “กินถูก...ถูก...” ได้รับความร่วมมือจากสถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ฉบับนี้เสนอเรื่อง “ไข่” โดย จุรีพร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 119 มีนาคม 2532
    “นี่เธอ กีฬาสีของโรงเรียนเมื่อวานนี้สนุกดีนะ ยายแก้วคนเก่งได้เหรียญจากวิ่งแข่งตั้ง 3 เหรียญแน่ะ”“ยายแก้วนี่เก่งจริง ๆ นะ เพิ่งอยู่ชั้น ม.2 เท่านั้น ชนะพวกรุ่นพี่หมดเลย ได้ข่าวว่าเรียนหนังสือเก่งด้วยไม่ใช่หรือ”“ถ้ายังงั้น กว่าจะถึง ม.6 คงจะเป็นดาราของโรงเรียนซีนะ เพราะเรียนก็เก่ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 119 มีนาคม 2532
    คอลัมน์นี้ได้รับความร่วมมือจากชมรมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย นับเป็นครั้งแรกที่เราจะนำความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ของโรคต่าง ๆ ในประเทศลงตีพิมพ์ติดต่อกัน โดยจะครอบคลุมไปถึงลักษณะของโรคที่ควรรู้ในฤดูกาลต่าง ๆ กัน ตลอดจนวิธีการป้องกันโรคนั้น ๆ ด้วยโดยหวังว่าความรู้เหล่านี้จะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในชุมชน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 119 มีนาคม 2532
    ความแตกต่างของปรัชญาตะวันออกและตะวันตกนั้น สามารถสะท้อนออกให้เห็นอย่างชัดเจนในเรื่องการแพทย์ ทั้งนี้เพราะการแพทย์เป็นวิชาที่นำเอาความรู้และความเจริญของมนุษย์ในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ วิทยาศาสตร์สังคม และปรัชญามาใช้กับมนุษย์ดังนั้น ปรัชญาความคิดทางการแพทย์ในแต่ละยุคสมัย จึงเป็นการสะท้อนออกของระบบความคิด ทั้งหมดอย่างเป็นรูปธรรมในแง่ของวิธีมองปัญหา วิธีการศึกษา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 119 มีนาคม 2532
    การอาบอบสมุนไพร เป็นวิธีการใช้สมุนไพรสดหรือแห้งหลาย ๆ ชนิดต้มกับน้ำ ใช้ไอน้ำที่ระเหยออกมาอบตัว และนำน้ำที่ต้มสมุนไพรนั้นมาอาบเพื่อใช้รักษาโรคและอาการบางชนิด เช่น โรคผิวหนัง แก้ปวดเมื่อย ปวดข้อ และเป็นส่วนหนึ่งของการรักษาคนไข้ที่ติดยาเสพติด นอกจากนั้นยังช่วยลดความอ้วนและอื่น ๆ การอาบอบสมุนไพรนี้มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ โดยใช้กับสตรีหลังคลอดเรียกว่า “การเข้ากระโจม” ...