บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 166 มีนาคม 2536
    เจ็บคอผู้ถาม เจริญ/กรุงเทพฯผู้ตอบ พ.ญ.สุภาวดี ประคุณหังสิตเจ็บคอบริเวณใกล้ๆกับต่อมทอนซิลข้างซ้าย มีอาการภายในคอแดง ที่ลิ้นมีลักษณะเป็นฝ้าขาวๆ ไม่มีอาการไข้ โดยเฉพาะในระยะ 7-8 เดือนที่ผ่านมานี้ อาการเจ็บคอเกิดบ่อยมากถาม :ขณะนี้ผมอายุ 20 ปี ส่วนสูง 167 เซนติเมตร น้ำหนัก 47 กิโลกรัม เป็นนักศึกษา ปัญหาที่เกิดกับผมมีมานานมากพอสมควร ได้สร้างความวิตกกังวลใจแก่ผมเป็นอย่างมาก ปัญหานี้ คือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 167 มีนาคม 2536
    วัยรุ่นหมอชาวบ้านฉบับนี้นำเอาเรื่องวัยรุ่นป็นเรื่องขึ้นปก เรื่องวัยรุ่นกำลังเป็นความทุกข์ของแทบทุกบ้าน เพราะพฤติกรรมของวัยรุ่นในปัจจุบันแตกต่างไปจากสมัยพ่อแม่เป็นวัยรุ่น วิธีแก้ทุกข์อยู่ที่ปัญญาเสมอหนึ่ง มีปัญญารู้ว่ามันเป็นเช่นนั้นเอง เป็นธรรมดา แทบทุกบ้าน ไม่ใช่เป็นเฉพาะบ้านเราบ้านเดียว การรู้ว่ามีผู้ร่วมทุกข์จำนวนมากจะทำให้ความทุกข์ของเราลดลงสอง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 167 มีนาคม 2536
    วิธีหยุดสะอึกเกือบทุกท่านคงเคยได้รับประสบการณ์จากการสะอึกมาบ้างแล้ว บางท่านก็สะอึกเสียงดังฟังชัดดี ถ้ากำลังอยู่ในวงสนทนาโดยเฉพาะหนุ่มๆ สาวๆ อาจทำให้เสียหน้าได้วิธีแก้อาการสะอึกที่ได้ผลแบบดั้งเดิม คือ การเป่าลมเข้าไปในถุงพลาสติกหรือลูกโป่งจนทำให้ถุงพองและแตกดังโพละอย่างไม่รู้ตัว เส้นประสาทที่ควบคุมการกระตุกที่ทำให้เกิดการสะอึกจะถูกขัดขวาง การสะอึกก็จะหายไป ส่วน 2 วิธีใหม่ที่จะเสนอในที่นี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 167 มีนาคม 2536
    ทำหมันชาย เสี่ยงภัยจากมะเร็งจริงหรือ?“ลูกมากจะยากจน” คำขวัญของคนยุคใหม่ ยุคที่จะต้องเบียดเสียดแย่งกันทำมาหากิน จนกระทั่งกลัวไปว่าลูกหลานที่กำลังเกิดขึ้นมาจะลำบากการทำหมันชายเป็นวิธีการคุมกำเนิดที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถหยุดการเกิดได้ผลดี วิธีการไม่ยุ่งยากอะไรมากนัก เพียงแต่ตัดสายท่อนำน้ำเชื้ออสุจิออกเท่านั้น กระนั้นก็ตาม มักมีข่าวไม่ดีออกมาอยู่เสมอว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 167 มีนาคม 2536
    อิมมูน–ภูมิคุ้มกัน (อีกครั้ง)เมื่อหลายฉบับก่อนได้กล่าวถึงความหมายของคำว่า “อิมมูน - ภูมิคุ้มกัน” และ “การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน” รู้สึกว่ายังมีแง่มุมบางอย่างที่ยังไม่ได้กล่าวถึง จึงใคร่ขอเพิ่มเติมเพื่อให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ภูมิคุ้มกันที่เรียกว่า “อิมมูน” (immune) หรือ “อิมมูนิตี้” (immunity) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 167 มีนาคม 2536
    เลี้ยงลูกวัยรุ่นอย่างไรไม่ให้วุ่น“...โอ๊ย! นี่พวกเธอรู้มั้ย พ่อเอกลูกชายชั้นนี่แกร้ายขนาดไหน แกเห็นเพื่อนๆเขามีมอเตอร์ไซค์ ก็อยากจะมีกับเขาบ้าง มานั่งอ้อนวอนขอให้ชั้นซื้อให้ ไอ้เรารึก็เป็นห่วงกลัวว่าจะไปคว่ำไปหงายเกิดอุบัติเหตุต้องพิกลพิการเลยไม่ตกลง แกก็ประท้วงด้วยการไม่ยอมไปเรียน ชั้นล่ะกลุ้มใจจริงจริ๊งนะเธอ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 167 มีนาคม 2536
    ปฏิสนธิชีวิตใหม่ (ตอนที่ 3)การเจริญเติบโตของตัวอ่อนการต่อสู้ของตัวอสุจินับล้านๆ ตัวเพื่อแย่งชิงความเป็นหนึ่งในฐานะผู้พิชิตไข่ได้สิ้นสุดลงไปแล้วเมื่อฉบับที่ผ่านมา ซึ่งนั่นก็เท่ากับว่าหน้าที่ของตัวอสุจิที่แข็งแรงที่สุดได้เสร็จสิ้นลงแล้วเช่นกัน จากนี้ไปไข่ที่ได้รับการผสมก็จะพัฒนาตัวเองไปอย่างต่อเนื่องจนกว่าจะเติบโตเป็นทารกที่สมบูรณ์และพร้อมที่จะออกมาดูโลกภายนอกต่อไป ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 167 มีนาคม 2536
    เมื่อน้องมิ้นต์พบหมอฟันสภาพสังคมปัจจุบันที่เร่งรัด วุ่นวาย ทำให้เวลาในการเอาใจใส่เลี้ยงดูลูกของพ่อแม่ลดลง เด็กเล็กส่วนมากใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่กับพี่เลี้ยง ไม่ว่าจะเป็นที่บ้าน สถานรับเลี้ยงเด็ก หรือโรงเรียนอนุบาล จึงไม่น่าแปลกใจที่เด็กเหล่านี้จะได้รับอิทธิพลด้านต่างๆจากพี่เลี้ยงเป็นอย่างมาก ซึ่งก็น่าเป็นห่วงเพราะเด็กๆ จะเลียนแบบพฤติกรรม ข้อปฏิบัติในชีวิตประจำวันจากผู้ที่เลี้ยงดูใกล้ชิด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 167 มีนาคม 2536
    เยื่อหุ้มสมองอักเสบข้อน่ารู้1. สมองและประสาทไขสันหลังของคนเรานอกจากมีกระดูกอันแข็งแกร่งห่อหุ้มอยู่โดยรอบแล้ว ในส่วนที่อยู่ใต้กระดูกเข้าไปยังมีเยื่อบางๆ หุ้มสมองอยู่อีก 3 ชั้น ซึ่งเรียกว่า “เยื่อหุ้มสมอง” และระหว่างเยื่อหุ้มสมองชั้นกลางกับชั้นในสุดจะมีน้ำหล่อเลี้ยง เรียกว่า น้ำเลี้ยงสมองและไขสันหลัง ถ้าเยื่อหุ้มสมองเกิดการติดเชื้ออักเสบ ก็เรียกว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 167 มีนาคม 2536
    การตรวจรักษาอาการ “เลือดออก” (ตอนที่ 3)การรักษาอาการเลือดออกนั้นใช่ว่าจะมีเพียงแค่บาดแผลที่ทำให้มีเลือดไหลออกนอกร่างกายเท่านั้น แต่ยังรวมถึงอาการที่มีเลือดออกภายในร่างกายด้วย ซึ่งจะมีความรุนแรงมากน้อยเพียงใดก็ขึ้นอยู่กับสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการนั้นและจะมีวิธีการรักษาที่แตกต่างกันออกไป ดังที่จะกล่าวต่อไปนี้เพื่อให้การตรวจรักษาอาการเลือดออกเป็นไปตามอาการเลือดออกที่พาผู้ป่วยมารักษา ...