บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 174 ตุลาคม 2536
    เต้าหู้แป๊ะซะหมอชาวบ้านครั้งนี้ต้อนรับเทศกาลกินเจด้วยการไปสืบสาวราวเรื่องเกี่ยวกับการกินเจมาเล่าให้ฟัง คอลัมน์ “เข้าครัว” ไม่อยากน้อยหน้า จึงหาอาหารเจมาฝากท่านผู้อ่านด้วย“เต้าหู้แป๊ะซะ” คือ อาหารจานเด็ดที่อยากให้ชาวหมอชาวบ้านลองเข้าครัวทำกันดู เริ่มต้นด้วยการเตรียมอุปกรณ์เครื่องปรุง ซึ่งประกอบด้วยเต้าหู้2 ก้อน ขิงหั่นฝอยพอประมาณ เห็ดฟาง1 ขีด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 174 ตุลาคม 2536
    น้ำอัดลมสวัสดีค่ะ อย่าเพิ่งแปลกใจว่าทำไมฉบับนี้จึงเป็นคะขา จ๊ะจ๋า เนื่องจากเจ้าประจำเขาพักร้อน ดิฉันจึงทำหน้าที่แทนไปก่อน ในวันที่อากาศร้อนแดดเปรี้ยงๆ จนตัวแทบไหม้เกรียมเนื่องจากไม่มีเค้าเมฆฝนเลยตั้งแต่เช้า เราไปล่องสายธารน้ำอัดลมให้ซาบซ่าชุ่มฉ่ำกันดีกว่าน้ำอัดลมหรือที่เรียกกันตามภาษาชาวบ้านว่า “น้ำขวด” นั้น เป็นที่รู้จักกันมานานแล้วทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 174 ตุลาคม 2536
    อาหารหน้าโรงเรียนหลังเลิกเรียนเป็นเวลาที่เด็กๆ มักจะหิวกันมาก เพราะตั้งแต่เช้าจรดเย็นพวกเขาต้องใช้ทั้งสมอง และพลังงานในการเรียน และการทำกิจกรรม พอเลิกเรียนก็ต้องเดินทางกลับบ้าน ซึ่งบางครั้งต้องใช้เวลานาน เด็กมักหิ้วท้องรอจนหว่าจะถึงบ้านไม่ไหว เด็กมักต้องหาอาหาร แถวหน้าโรงเรียนกินเพื่อระงับความหิวไปพลางก่อน ดังนั้น ไม่ว่าพ่อค้าแม่ขายจะเสนออะไรให้ลองชิมและมีรสชาติเป็นอย่างไร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 174 ตุลาคม 2536
    ท่าบริหารร่างกายสำหรับผู้สูงอายุมนุษย์เราแตกต่างกับสัตว์อื่นตรงที่มนุษย์ยืนและเดินสสองขา การบืนสองขามีผลลบต่อสุขภาพอยู่บ้าง เช่น ทำให้เกิดปัญหาปวดหลัง ปวดไหล่ ปวดสะโพก และอื่นๆ โดยเฉพาะโรคปวดหลังซึ่งเป็นกันมากนั้น ความสำคัญอยู่ที่กล้ามเนื้อหน้าท้องและกล้ามเนื้อหลังซึ่งทำหน้าที่พยุงกระดูกสันหลังอยู่ยิ่งอายุมากขึ้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 174 ตุลาคม 2536
    การควบคุมอาหารอาหารเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการดำรงชีวิต อาหารถูกนำไปเผาผลาญเป็นพลังงาน ทำให้เซลล์ภายในร่างกายทำงานได้ สิ่งมีชีวิตจึงหายใจได้ เคลื่อนไหวได้ สืบพันธุ์ได้ บางประเทศในแอฟริกา การขาดแคลนอาหารเป็นปัญหาหนักจนต้องอาศัยความช่วยเหลือจากนานาประเทศเนื่องภาวะสงครามและความแห้งแล้ง แต่ในประเทศที่กำลังพัฒนาแล้ว อาหารการกินมีมากมาย โดยเฉพาะประเทศไทย มีข้าวเหลือเฟือ เนื่องจากส่งออกไม่ได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 173 กันยายน 2536
    ครอบครัวพลังทางสังคมที่ใหญ่ที่สุดความแข็งแรงของสังคมเท่านั้นที่จะช่วยให้ศีลธรรมกลับคืนมา (โปรดอ่านเรื่อง สังคมสมานุภาพ ในมติชนสุดสัปดาห์ 23,10 กรกฏาคม 2536) ขอให้ช่วยกันทำความเข้าใจเรื่องนี้ ถ้าสังคมไม่เข้มแข็งแล้ว ไม่มีทางฟื้นฟูบูรณะศีลธรรมได้เลย ฐานสำคัญที่สุดของสังคม คือ ครอบครัว ความเป็นปึกแผ่นของครอบครัวช่วยให้ฐานของสังคมเข้มแข็ง ความรัก ความเข้าใจ การรับรู้ ความรู้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 173 กันยายน 2536
    อาการปวดของเด็กกำลังโต อย่าตกใจ!“น้องเจี๊ยบ” อายุประมาณ7-8 ขวบเห็นจะได้ สุขภาพแข็งแรงดีทุกอย่าง เป็นลูกสาวคนเดียวขอลคุณพ่อคุณแม่ ฐานะของพ่อแม่ห็พอมีอันจะกิน แต่ที่พามาหาคุณหมอวันนี้ก็ด้วยอาการสำคัญว่า น้องเจี๊ยบบ่นปวดบริเวณเข่าและน่องตอนดึกๆ เมื่อสักสัปดาห์ที่ผ่านมานี่แหละคุณหมอชักไช้ไล่เลียงว่า มีอาการไข้ เจ็บคอร่วมด้วยไหม เดินได้ดี กินอาหารได้ดีหรือเปล่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 173 กันยายน 2536
    อย่าหยุดเสริมกระดูกผู้หญิง....แม้ว่าเธอจะหยุดการเจริญเติบโตทางส่วนสูงแล้วก็ตาม แต่กระดูกของเธอก็ยังไม่หยุดพัฒนา จากการศึกษาครั้งล่าสุด แสดงให้เห็นว่า น้ำหนักของกระดูกยังเพิ่มขึ้นต่อไปได้เรื่อยๆ แม้ว่าอายุจะเลยวัย20 ไปแล้ว การกินอาหารที่อุดมไปด้วยแร่ธาตุแคลเซียม สามารถช่วยให้พ้นภาวะกระดูกหักเมื่ออายุย่างเข้าสู่วัยชราได้ทีมงานที่ศึกษานำโดยนายแพทย์โรเบิร์ต อาร์เรกเกอร์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 173 กันยายน 2536
    จิตกับหัวใจ‘จิต’ กับ ‘หัวใจ’ สองคำนี้ ฟังแล้วคล้ายจะเป็นคำเดียวกัน แต่แท้ที่จริงเป็นคนละคำ จิตนั้นเราไม่สามารถมองเห็นได้ เป็นส่วนที่รับรู้ถึงอารมณ์และความรู้สึกต่างๆ ซึ่งก็คือ การทำงานของสมองนั้นเอง ส่วนหัวใจ คือ อวัยวะที่เต้นตุ๊บๆ อยู่ในช่องอก สัมผัสได้โดยการแนบฝ่ามือลงบนหน้าอกด้านซ้าย จะรู้สึกถึงการเต้นของมันได้เป็นอย่างดี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 173 กันยายน 2536
    เครื่องดื่มกับสุขภาพเด็กวัยกำลังเจริญเติบโต จะมีความต้องการสารอาหารมากเป็นพิเศษ แต่ส่วนใหญ่เด็กในวัยนี้มักจะชอบกินขนมและดื่มน้ำอัดลมมากจนเกินไป โดยไม่กินอาหารอื่นประกอบ ทำให้เด็กหลายคนเกิดภาวะขาดสารอาหาร ทั้งที่ร่างกายดูอ้วนท้วมดีเครื่องดื่มประเภทน้ำอัดลมที่เด็กส่วนใหญ่นิยมดื่มกัน จะมีน้ำตาลเป็นส่วนผสมอยู่มาก และส่วนใหญ่จะมีกรด เช่น พวกโคลา รูซเบียร์ น้ำผลไม้โซดาต่างๆ และเครื่องดื่ม ...