บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 180 เมษายน 2537
    ปาก : ประตูสู่สุขภาพหลายคนคงเคยได้ยินคำกล่าวนี้ เหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะปากเป็นช่องทางนำอาหารมาใช้ให้เกิดประโยชน์กับร่างกายนั้นก็เริ่มต้นตั้งแต่ในปากเลยทีเดียว เริ่มตั้งแต่การบดเคี้ยวให้อาหารเป็นชิ้นเล็กลง เพื่อให้การย่อยอาหารเป็นไปได้ง่ายขึ้นซึ่งจะช่วยให้คนๆ นั้นได้รับสารอาหารตามที่ควรจะได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 180 เมษายน 2537
    ปวดตา-ต้อหินเฉียบพลันข้อน่ารู้1. แก้วตาหรือเลนส์ตาที่อยู่ภายในลูกตา จะแบ่งลูกตาออกเป็น2 ส่วน ได้แก่ ช่องว่างส่วนหน้า แก้วตา เรียกว่า ช่องลูกตาด้านหน้า และช่องว่างส่วนหลังแก้วตา เรียกว่า ช่องลูกตาด้านหลังช่องลูกตาด้านหลังมีขนาดใหญ่ จะมีลักษณะเป็นน้ำวุ้นบรรจุอยู่ ช่วยให้ลูกตาทรงรูปอยู่ได้เป็นปกติ ส่วนช่องลูกตาด้านหน้า มีขนาดเล็ก อยู่ระหว่างกระจกตากับแก้วตา จะมีสารน้ำใสๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 180 เมษายน 2537
    น้ำพริกกุ้งสดอาหารประจำฉบับนี้เพื่อผองพี่น้องชาวไทยที่ชอบกินน้ำพริก แต่ไม่ชอบกลิ่นกะปิ และเหมาะสำหรับเดือน เมษา-พฤษภาที่อากาศร้อนระอุ ทำให้เกิดอาการเบื่ออาหาร กินอันโน้นก็ไม่อร่อย อันนี้ก็เบื่อน้ำพริกกุ้งสดกับข้าวสวยร้อนๆ เคียงข้างด้วยผักต้ม น่าจะช่วยให้พวกเราเจริญอาหารได้อย่างดีนะคะ พอพูดถึงผักอยากจะขอเชิญชวนให้ชาวหมอชาวบ้านปลูกผักกินเอง ใครที่มีพื้นที่ข้างบ้านหลังบ้านอาจจะทำกินอยู่แล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 180 เมษายน 2537
    มะกอก ผักพื้นบ้านที่ไม่ชอบคนเจ้าเล่ห์“มะกอกสามตะกร้า ปาไม่ถูก”ประโยคที่ยกมาข้างบนนี้ เป็นคำพังเพยดั้งเดิมของชาวไทยที่ใช้เปรียบเทียบ (โทษ) ลักษณะของคนประเภทกลิ้งกลอกเจ้าเล่ห์ที่ทำอย่างไรก็จับไม่ได้ไล่ไม่ทันเหมือนกับเอาผลมะกอกตั้งสามตะกร้าขว้างปาก็ยังไม่ถูกเลยสักครั้งเดียว คนประเภทนี้สมัยก่อนรียกกันว่าเป็นคน “มะกอกสามตะกร้า” ก็จะเข้าใจกันทั่วไปแต่ในปัจจุบันคงต้องเปลี่ยนคำเรียกเสียใหม่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 179 มีนาคม 2537
    การเผชิญกับวิกฤติการณ์น้ำการขาดแคลนน้ำเป็นปัญหามากขึ้นๆ จนวิ่งเข้าสู่จุดวิกฤติแล้ว แม่น้ำลำธารสายต่างๆ เหือดแห้ง น้ำในเขื่อนต่างๆ มีระดับต่ำจนมีเกาะเกิดในเขื่อน ป่าไม้เป็นต้นกำเนิดของแหล่งน้ำลำธาร เพราะเราทำลายป่าไม้ของเราลงไปมาก จึงเท่ากับทำลาแหล่ต้นน้ำลำธาร ที่มีการทำลายธรรมชาติมากก็เพราะวิถีชีวิตที่มีการบริโภคมาก ที่เรียกว่า บริโภคนิยมหรือวัตถุนิยม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 179 มีนาคม 2537
    น้ำคือชีวิตขณะนี้หากดูจากรายงานปริมาณน้ำที่มีอยู่ในเขื่อนหลักๆ จะเห็นว่า จำนวนน้ำได้ลดลงทุกปี หลายคนคงรู้สึกหนาวทั้งๆ ที่อากาศร้อนอบอ้าว เราบอกได้ว่าขณะนี้ น้ำเปล่า (ใส่ขวด) แพงกว่าน้ำมัน และในอนาคต น้ำ1 แก้ว อาจมีค่ามากกว่าอาหาร1 มื้อของเรา น้ำในโลกนี้กว่าร้อยละ97 เป็นน้ำเค็มหรือน้ำทะเล ที่เหลือ คือ น้ำจืด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 179 มีนาคม 2537
    ตามัว-ตากระจกข้อน่ารู้1. แก้วตาหรือเลนส์ตา (lens) ในคนปกติมีลักษณะเป็นวุ้นใสๆ มีหน้าที่คอยปรับการหักเหของแสงที่เดินทางผ่านเข้ามายังนัตย์ตา ให้เกิดเป็นจุดรวมแสงหรือโฟกัสตกลงบนจอภาพ ทำให้มองเห็นภาพต่างๆได้ชัดเจน เปรียบเหมือนกับการปรับโฟกัสของเลนส์ของกล้องถ่ายรูป เมื่อย่างเข้าวัยสูงอายุ แก้วตาจะเสื่อมตามสังขาร ทำให้มีลักษณะขุ่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 179 มีนาคม 2537
    ปวดหลังโรคปวดหลังเป็นโรคที่พบได้บ่อยประมาณว่าร้อยละ80 ของคนทำงานจะมีอาการปวดหลัง อาการปวดอาจมีหลายรูปแบบตั้งแต่ปวดหลังไม่กี่วันแล้วหายได้เองจนถึงปวดหลังรุนแรงขนาดต้องหามส่งโรงพยาบาล ความสำคัญของโรคปวดหลังถูกจัดไว้เป็นอันดับ3 รองจากโรคหัวใจ และโรคไขข้อในคนที่มีอายุระหว่าง45-64 ปี มีรายงานสำรวจของประเทศสวีเดน พบว่า ประมาณร้อยละ53 ของคนที่ทำงานนั่งโต๊ะ และประมาณ64 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 179 มีนาคม 2537
    การตรวจรักษาอาการ “บวม” ตอนที่ 1อาการบวม หมายถึง อาการที่เนื้อหรืออวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งพองตัวขึ้นเนื่องจากมีน้ำคั่งอยู่ภายใน (น้ำในที่นี้หมายถึง น้ำเลือด น้ำเหลือง หรือน้ำในร่างกายอื่นๆ)น้ำที่คั่งอยู่ภายในนี้จะคั่งอยู่นอกเซลล์และนอกหลอดเลือด (ex-tracellular และ extravascular spaces) นั่นคือ น้ำเหล่านี้จะคั่งอยู่ระหว่างเซลล์ (intercellular และ interstitial space) นั่นเอง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 179 มีนาคม 2537
    แสงเลเซอร์กับงานทันตกรรมเพื่อให้ไปกันได้กับยุคโลกานุวัตร (Globalization) จึงจะขอนำเรื่องการใช้แสงเลเซอร์ในงานทันตกรรมมาเล่าสู่กันฟัง ซึ่งในอนาคตเทคโนโลยีตัวนี้คงจะเข้ามาทีบทบาทในวงการทันตแพทย์มากพอๆ กับที่กำลังแสดงบทบาทในวงการแพทย์อันได้แก่ การผ่าตัดน้อยใหญ่ทั้งหลายในปัจจุบันนี้ สำหรับโอกาสนี้จะขอนำเสนอในลักษณะนำร่องให้พอเห็นภาพกว้างๆ ...