บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 มิถุนายน 2537
    บัญญัติ 10 ประการสำหรับการเล่นกีฬาและออกกำลังกายการที่เราจะมีร่างกายที่แข็งแรงและสมบูรณ์นั้น ส่วนหนึ่งมาจากการออกกำลังกายที่สม่ำเสมอ การออกกำลังกายนอกจากจะมีผลต่อร่างกายแล้ว ยังทำให้จิตใจและสมองแจ่มใสคิดการใดก็ย่อมประสบผลสำเร็จ มีหลายคนหันมาออกกำลังกายกันโดยการวิ่งเหยาะๆ ในตอนเช้า หรือเล่นกีฬากันในช่วงวันหยุด แต่มีบางคนบ่นว่าทำไมออกกำลังกายแล้วร่างกายกลับทรุดโทรมลง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 มิถุนายน 2537
    ยาพื้นบ้านปัจจุบันมีคนหันกลับมานิยมใช้พืชเป็นยารักษาโรคกันมากขึ้น ซึ่งพืชบางชนิดก็เป็นที่คุ้นเคยกันดีในการประกอบอาหารแต่ละมื้อ เพราะนอกจากใช้ประโยชน์ทางด้านอาหารแล้วยังเป็นยารักษาโรคในตัวอีกด้วย1.หัวหอมเล็ก ใช้แก้พิษแมลงกัดต่อย โดยใช้หัวหอมตำกับมะขามเปียก ทาบริเวณที่ถูกแมลงกัดต่อย เช่น แมลงป่อง ตะขาบ มดตะนอย จะช่วยให้หายปวดบวมอย่างรวดเร็ว2.มะนาว ช่วยบรรเทาอาการไอ โดยการบีบน้ำมะนาวลงคอ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 มิถุนายน 2537
    น้ำส้มสายชูน้ำส้มสายชู เป็นผลิตภัณฑ์ที่อยู่คู่โลกและเป็นที่นิยมบริโภคกันมาแต่โบราณกาล ฝรั่งเรียกน้ำส้มสายชูว่า Vinegar ซึ่งมาจากภาษาฝรั่งเศสว่า “Vinaigre” อันมีความหมายว่าเหล้าไวน์ที่มีรสเปรี้ยวนั่นเองน้ำส้มสายชูเป็นเครื่องปรุงรสสำหรับอาหารในบ้านเราหลายชนิด โดยเฉพาะอาหารที่มีต้นกำเนิดมาจากประเทศจีน เช่น ก๋วยเตี๋ยว ข้าวขาหมู น้ำจิ้มหลายชนิด ฯลฯ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 มิถุนายน 2537
    การเลือกซื้อเนื้อสัตว์คุณแม่บ้านและคุณพ่อบ้านคงจะไม่ปฏิเสธว่า ในการทำอาหารแต่ละมื้อมักมีเนื้อสัตว์เป็นส่วนประกอบร่วมอยู่ด้วย สำหรับท่านที่ทำอาหารอยู่เป็นประจำก็คงเลือกซื้อเนื้อสัตว์เป็นอย่างแน่นอน แต่สำหรับผู้ที่กำลังจะก้าวเข้าสู่การเป็นแม่บ้านพ่อบ้านมือใหม่ คงยังเลือกซื้อไม่ถูกต้องเท่าไร ฉบับนี้จึงขอนำเคล็ดลับการเลือกซื้อเนื้อสัตว์มาฝากค่ะ- เนื้อหมู เนื้อควรมีสีชมพูอ่อน นุ่ม มันมีสีขาว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 มิถุนายน 2537
    แกงไตปลาเมื่อพูดถึง “แกงไตปลา” หลายท่านคงรู้จักดี และถ้าถามว่า “แกงไตปลาเป็นอาหารประจำภาคไหน” เพราะเท่าที่เห็นก็มีกันแทบทุกภาคแท้จริงแล้ว แกงไตปลาเป็นอาหารของชาวปักษ์ใต้ เรียกว่า แกงพุงปลา เป็นอาหารที่มีรสจัด และมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่หาอาหารอื่นใดมาทาบรัศมีได้ยาก ฉะนั้นเวลากินจึงนิยมมีผักแกล้ม เช่น แตงกวา ถั่วฝักยาว มะเขือเปราะ ใบมะม่วงอ่อน สะตอ ลูกเนียงหรือลูกพะเนียง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 มิถุนายน 2537
    ชะอมผักพื้นบ้านเสน่ห์แรงในบรรดาผักพื้นบ้านของไทยซึ่งมีอยู่มากมายนั้น บางชนิดมีคุณสมบัติพิเศษซึ่งผู้ไม่คุ้นเคยจะรู้สึกยากลำบากในการกินหรือไม่รู้สึกชอบรสชาติเลย แต่หากพยายามทดลองต่อไป จนกระทั่งคุ้นเคยแล้ว จะกลับรู้สึกว่าผักชนิดนั้นมีรสชาติอร่อยเหนือกว่าผักอื่นๆ ซึ่งกินได้ง่ายกว่าผักพื้นบ้านที่มีลักษณะพิเศษดังกล่าวอาจเป็นผักที่มีรสชาติขม เช่น มะระ สะเดา หรือขี้เหล็ก มีรสชาติเผ็ดร้อน เช่น พริก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 มิถุนายน 2537
    ปัญญาอ่อน – ดาวน์ซินโดรม(โรคที่เกิดจากมีแถบพันธุกรรมเกิน)“หมอรู้สึกเสียใจที่ตรวจพบว่าลูกชายของคุณเป็นโรคปัญญาอ่อน”ทารกน้อยหลังคลอดไม่ถึงเดือนหน้าตาแปลก ค่อนข้างนิ่งเฉย ไม่งอแง ดูเหมือนเด็กเลี้ยงง่าย คุณพ่อคุณแม่รู้สึกแปลกใจว่าผิดแผกจากเด็กอื่น จึงพามาปรึกษาหมอ“สายเลือดเราไม่มีใครเป็นโรคปัญญาอ่อนกันเลย ไม่อยากเชื่อว่าลูกของเราจะเป็นโรคนี้...” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 มิถุนายน 2537
    ไขมันในเลือดสูงมีผู้ป่วยบางคนวิ่งมาหาหมอด้วยความตกใจซึ่งที่จริงไม่ใช่ผู้ป่วย เพราะไม่ได้เจ็บป่วยอะไร เพียงแต่อ้วนกว่าปกติไปสักหน่อย และก็กังวลเรื่องไปวัดไขมันในเลือด และพบว่าสูง 240240 หมายถึง240 มิลลิกรัมต่อเลือด 100 ซีซี หรือ 100 มิลลิลิตร หรืออาจเรียกว่า 240 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ (240 มก.%) ซึ่งถ้าใช้หน่วยใหม่ที่สากลโลกเขาเปลี่ยนมาใช้กัน ก็จะประมาณ 6.2 มิลลิโมลต่อเลือด 1 ลิตร หรือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 มิถุนายน 2537
    นิ่วในท่อไตข้อน่ารู้1. ทางเดินปัสสาวะของคนเราเริ่มจากไตลงมาที่ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ และสิ้นสุดที่ท่อปัสสาวะโรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะอาจเกิดขึ้นตรงจุดใดจุดหนึ่งก็ได้ ซึ่งมีสาเหตุ อาการ การรักษา และวิธีป้องกันแตกต่างกันไปในที่นี้จะกล่าวเฉพาะโรคนิ่วในท่อไต ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดอาการปวดท้องรุนแรง 2. นิ่วในท่อไต เป็นก้อนนิ่วขนาดเล็กที่ก่อตัวขึ้นในไตแล้วตกผ่านลงมาในท่อไต ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 มิถุนายน 2537
    ภาพจำลองย่อส่วนของร่างกายมนุษย์ ฉบับที่แล้วผู้เขียนได้กล่าวถึง “ลิ้นบอกโรค” และได้กล่าวถึงทฤษฎีการแพทย์จีนที่กล่าวถึงเส้นลมปราณ ซึ่งทำหน้าที่เชื่อมโยงอวัยวะภายในต่างๆเข้าด้วยกัน ...