บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 68 ธันวาคม 2527
    สภาพผิดปกติ243. ไอมีคนในครอบครัวเป็นหวัดและติดต่อไปยังเด็กทำให้น้ำมูกไหล ไอจาม คุณแม่คงไม่รู้สึกเดือนร้อนกับอาการไอของลูกนัก เพราะรู้ว่าเป็นไอหวัด เมื่อรักษาโรคหวัดหาย อาการไอมักจะหายไปด้วย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 68 ธันวาคม 2527
    ถ้าเช้าวันหนึ่ง คุณตื่นขึ้นมาล้างหน้าแปรงฟัน แล้วพบว่า ปากตัวเองเบี้ยวไปข้างหนึ่ง แยกเขี้ยวยิงฟัน มองเห็นมุมปากข้างหนึ่งไม่ขยับ ยักคิ้ว คิ้วข้างเดียวกันนั้นไม่ยักด้วย หลับตาเจ้าตาข้างเดียวกันนั้นไม่ยอมปิดสนิทโดยที่แขนขาทุกส่วนแข็งแรงดี และรู้สติดีทุกอย่างแบบนี้ละก็ คุณกำลังเป็น โรคปากเบี้ยว โรคที่เกิดจากเส้นประสาทที่มาเลี้ยงใบหน้า อยู่ดี ๆ(ไม่ทราบสาเหตุอะไร) เกิดไม่ยอมทำงานเสียเฉย ๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 68 ธันวาคม 2527
    เชื้อเพลิงที่จำเป็นสำหรับร่างกายของเราอย่างหนึ่งก็คืออาหาร ร่างกายของเราต้องการอาหารเพื่อเป็นพลังงานในการทำงานของร่างกาย อาหารเช้าก็เพื่อกิจวัตรในยามเช้า อาหารเที่ยงก็ใช้เป็นพลังงานในยามบ่ายเป็นต้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 68 ธันวาคม 2527
    ประชาชนทั่วไปสามารถจะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อย ๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80 ) จะรักษาได้โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือที่พิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” มีเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้ด้วยตนเองจนดูแลรักษาตนเองและผู้อื่นได้” การวินิจฉัยและการตรวจรักษาภาวะปวดหัวแบบฉุกเฉินได้กล่าวไว้แล้วในฉบับก่อน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 68 ธันวาคม 2527
    คราวนี้ก็มาถึงเวลาของการวิ่งเหยาะ หรือจ๊อกกิ้งเสียที ! และอีกเพียง 3 เดือนจากนี้ไป ท่านจะสามารถวิ่งเหยาะรวดเดียวได้ไกลถึง 3 ไมล์ (หรือ 4.8 กม.) แถมจะใช้เวลาไม่มากนักในแต่ละวันเสียด้วยซิ“วิ่งเหยาะ” กับ “วิ่ง” นั้น ไม่เสียเวลาเท่าไร เพราะเป็นการออกกำลังกายที่มีการเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว หากต้องการผลประโยชน์ต่อร่างกายปริมาณเท่ากัน วิ่งเหยาะกับวิ่ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 67 พฤศจิกายน 2527
    ประโยชน์ของหัวหอมเครื่องเรือนที่ทาสีขาว ๆ ถูกขี้มือเหงื่อไคล ทำให้เหลืองไป ให้ใช้น้ำต้มหัวหอมเช็ด จะทำให้ดูใหม่ขึ้น มีดที่เป็นสนิม ใช้หัวหอมถู และใช้มะนาวช่วยอีกแรงจะแจ๋วขึ้นจะกินหอย แต่ไม่รู้ว่าหอยอะไรเวลาต้มหอยให้ใส่หัวหอมลงไปสัก 2-3 หัว ถ้าหัวหอมสีดำ แสดงว่าหอยนั้นมีพิษพริกไทยพริกไทย (แห้ง) มี 2 ชนิด คือชนิดดำ และขาว ส่วนมากใช้สีขาว ป่นใส่อาหารเพื่อดับกลิ่นคาวของเนื้อสัตว์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 67 พฤศจิกายน 2527
    ลิ้นกับฟันเป็นของคู่กัน ทั้งคู่เป็นอวัยวะที่อยู่ใกล้ชิดกันและทำงานประสานกัน เพื่อแปลงรูปอาหารที่จะเข้าสู่ร่างกายให้เหมาะสมที่ร่างกายจะย่อยเอาไปใช้ เมื่อใดที่ฟันทำงานลิ้นก็จะช่วยโดยอัตโนมัติ คุณเคยสังเกตบ้างไหมว่าเวลาแทะข้าวโพด ทันทีที่เมล็ดข้าวโพดเข้าสู่โพรงปาก ลิ้นก็จะม้วนตวัดเอาเมล็ดข้าวโพด ป้อนเข้าสู่ฟันกรามด้านในเพื่อบดให้ละเอียด ในขณะที่ฟันกำลังทำหน้าที่ของมัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 67 พฤศจิกายน 2527
    เด็กทั้ง 3 คน ในภาพมีอายุต่างกัน และไม่ใช้พี่น้องพ่อแม่เดียวกัน แต่มีใบหน้าที่แปลก ๆ ซึ่งดูละม้ายคล้ายคลึงกันมาก ลักษณะที่แปลกก็คือ หางตาทั้งสองข้างเฉียงขึ้นบน จมูกแบน และลิ้นมีลักษณะโตจนคับปากนี่แหละครับที่เรียกกันว่า “หน้าปัญญาอ่อน”เด็กเหล่านี้จะมีการเจริญเติบโตช้ากว่าปกติ เช่น คลานได้เมื่ออายุใกล้จะครบขวบ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 67 พฤศจิกายน 2527
    “ยาละลายนิ่ว” จัดเป็นยาที่อยู่ในความสนใจของคนทั่วไปมาก เพราะหมายถึงว่าสามารถที่จะเลือกใช้ยาไปละลายก้อนนิ่วในถุงน้ำดี แทนที่จะรักษาด้วยการผ่าตัด ซึ่งเป็นเรื่องที่น่ากลัวและเจ็บตัวมากกว่ายาละลายนิ่วที่ผลิตออกจำหน่ายในปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ CDCA (Chenodeoxycholic acid) ซึ่งออกจำหน่ายมาก่อนหลายปีแล้ว และ UDCA(Ursodeoxycholic acid) เพิ่งออกจำหน่ายใช้ในขนาดต่ำกว่า CDCA ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 67 พฤศจิกายน 2527
    แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ในสถานบริการสาธารณสุข จะมีการใช้ภาษาที่เข้าใจในหมู่หมอด้วยกันเอง หากได้ทำความรู้จัก “ภาษาหมอ” ก็จะทำให้เราสื่อสารกับหมอได้ดียิ่งขึ้น คอลัมน์นี้จึงขอแนะนำ “ภาษาหมอ” เดือนละคำสองคำเป็นคำเรียกทับศัพท์ภาษาอังกฤษจากคำว่าICU ซึ่งย่อมาจากคำว่า “Intensive Care Unit”ตามโรงพยาบาลใหญ่ ๆ มักจะมี “ห้อง ...