บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 มิถุนายน 2537
    ดัดตนแก้กร่อนมีคนไข้ของผมเป็นโรคเส้นท้องตึงกันหลายคน พอเขาเข้ามานวด ผมถามอาการเขาว่าเป็นอะไร เขาบอกว่าเส้นท้องตึงทั้งสองข้างและปวดเมื่อยไปทั้งตัว ผมจึงส่งให้หมอนวดคนตาบอดนวดตามวิธีการของผมคือนวดไปทั้งตัวก่อน เสร็จแล้วผมก็ให้หมอนวดใช้ท่านั่งทับท้อง แล้วผมก็ให้เขาทำท่าฤาษีดัดตนที่ผมเขียนมาข้างบนนี้คนไข้ของผมบอกว่าหลังจากถูกนั่งทับท้องแล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 181 พฤษภาคม 2537
    คนในเมืองแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมวิกฤติง่ายนิดเดียว ด้วยการกินอาหารปลอดสารเคมีประเวศ วะสีภาวะแวดล้อมวิกฤติที่สำคัญคือการทำลายป่าไม้ ประเทศไทยมีเนื้อที่ 321 ล้านไร่ เมื่อ 35 ปีก่อนเรามีเนื้อที่เป็นป่ากว่า 220 ล้านไร่ หรือกว่าร้อยละ 69 ของเนื้อที่การที่ประเทศใดประเทศหนึ่งจะมีความสมดุลตามธรรมชาติ ควรมีเนื้อที่เป็นป่าร้อยละ 50 หรืออย่างน้อยไม่ควรต่ำกว่าร้อยละ 40ภายใน 30 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 181 พฤษภาคม 2537
    การลดไขมันหญิงสาวหน้าตาสวย รูปร่างอ้วน อายุประมาณ ๓๐ เศษ ก้าวเดินฉับๆเข้าไปในร้านหมอหญิง : “ดิฉันต้องการมาลดไขมันค่ะ”หมอ : “ไขมันที่ไหนครับ”หญิง : “อ้าว...หมอไม่รู้เหรอว่าเขาลดไขมันที่ไหน ก็ลดไขมันที่ท้อง สะโพก ต้นขา นี่แหละค่ะ สำคัญกว่าที่อื่น”หมอ : “ครับ ถ้าคุณจะลดไขมันที่ท้อง สะโพก และต้นขา คุณไม่ต้องหาหมอก็ได้ครับ เพราะการลดไขมันที่ท้อง สะโพก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 181 พฤษภาคม 2537
    ปวดเมื่อยนัยน์ตาท่านผู้อ่านหลายๆท่านคงจะเคยมีอาการปวดเมื่อยนัยน์ตากันมาบ้าง บางทีอยู่เฉยๆก็ปวด แต่จะเป็นมากเวลาใช้สายตา อาการปวดเมื่อยนัยน์ตาในบางคนอาจมีอาการน้อยๆจนเจ้าตัวไม่สนใจ เช่น แค่แสบตา ไม่สบายนัยน์ตา อยากจะหลับตา พอหลับตาอาการก็หายไป ไม่บั่นทอนการทำงานแต่อย่างไร แต่ในบางคนอาการอาจเป็นมากถึงขั้นปวดตา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 181 พฤษภาคม 2537
    ความเมื่อยล้าจากการทำงานอาการเมื่อยล้าเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติหลังจากการทำงานทุกชนิด โดยเฉพาะงานที่ต้องออกแรงมาก เช่น การแบกหาม ยกของหนัก หรือการนั่งทำงานเป็นเวลานาน การทำงานต้องอาศัยการหดตัวของกล้ามเนื้อจึงจะเกิดแรงตามที่ต้องการได้ โครงร่างของมนุษย์ประกอบด้วย กระดูก ข้อต่อ ที่มีกล้ามเนื้อเกาะอยู่ เมื่อกล้ามเนื้อหดตัว ข้อต่อจะเคลื่อนไหวในทิศทางต่างๆ ขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อต่อนั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 181 พฤษภาคม 2537
    น้ำตาลและสารทดแทนความหวาน“อันอ้อยตาลหวานลิ้นแล้วสิ้นซาก แต่ลมปากหวานหูไม่รู้หาย”เป็นบทกวีของท่านสุนทรภู่ ซึ่งเป็นที่รู้จักของชาวไทยเป็นอย่างดี แต่ถึงกระนั้น ความหวานจากอ้อยตาลในอาหารก็ยังเป็นสิ่งที่พึงปรารถนาของเราเสมอมานอกจากนี้ประเทศไทยก็ยังเป็นผู้ผลิตน้ำตาลรายใหญ่ในตลาดโลกรายหนึ่งอีกด้วยในระยะหลังนี้คนไทยได้มีการตื่นตัวตามนักวิชาการในประเทศที่พัฒนาแล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 181 พฤษภาคม 2537
    ยีน-โครโมโซม-ดีเอ็นเอ(การพิสูจน์ความเป็นพ่อ-แม่-ลูก ตอนที่ 2)ตอนที่แล้วได้พูดจากันถึงความหมายของคำ 3 คำนี้สรุปโดยย่อ ก็คือ พันธุกรรมเปรียบเหมือนรหัสข้อมูลที่สามารถถ่ายทอดไปยังลูกหลาน ข้อมูลเหล่านี้แฝงอยู่ในโครโมโซม (chromosome) หรือแถบพันธุกรรม โครโมโซมแต่ละแถบจะประกอบด้วยยีน (gene) หรือลักษณะพันธุกรรมมากมาย และยีนแต่ละลักษณะประกอบด้วยสารดีเอ็นเอ (DNA) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 181 พฤษภาคม 2537
    อาหารปลอดสารเคมีทางเลือกใหม่เพื่อสุขภาพที่ดีกว่าชนิดผลไม้จำนวนตัวอย่างที่วิเคราะห์พบสารเคมีเกินค่ากำหนด1.องุ่น21 ตัวอย่าง15 ตัวอย่าง2.ชมพู13 ตัวอย่าง1 ตัวอย่าง3.พุทรา13 ตัวอย่าง1 ตัวอย่าง“คะน้า” ติดอันดับผักสุดอันตรายกรมวิชาการเกษตร ชี้ผักคะน้าอันตราย เกษตรกรใช้สารฆ่าแมลงมากเป็นอันดับหนึ่ง ผู้บริโภคควรระวังแหล่งข่าวกรมวิชาการเกษตร เปิดเผยว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 181 พฤษภาคม 2537
    การใช้แสงเลเซอร์กับฟันของเราเรื่องการใช้แสงเลเซอร์ในฉบับเดือนมีนาคม ผมได้เล่าถึงบทบาทของการประยุกต์ใช้แสงเลเซอร์ในงานด้านต่างๆทางทันตกรรมไปบ้างแล้ว ต่อไปจะเป็นรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับกลไกการทำงานของแสงเลเซอร์ในบางกรณี เพื่อจะได้พอเห็นภาพและเข้าใจว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 181 พฤษภาคม 2537
    ดัดตน แก้ลมปัตฆาฏในเอวสาเหตุของอาการปวดหลัง ผมคิดว่าไม่ต้องเขียนอธิบาย เพราะหมอชาวบ้านเล่มที่แล้วเขียนโดยนายแพทย์ธวัช ประสาทฤทธา ได้บอกสาเหตุไว้มากแล้ว และเรื่องลมปัตฆาฏทั้งอาการ รวมทั้งวิธีแก้ด้วยการนวดก็มีคำอธิบายในตำราของพระยาวิชยาบดี (กล่อม)เมื่อต้นเดือนนี้พบสุภาพสตรีท่านหนึ่ง เขาบอกว่าปวดหลัง ผมได้ซักถามอาการของเขา เขาบอกว่าเขามาจากอเมริกาได้สองสามวัน ...