บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    หมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อนข้อน่ารู้1. สันหลังของคนเราประกอบด้วยกระดูกสันหลังชิ้นย่อยๆกว่า 30 ชิ้นเรียงต่อกันเป็นแนวยาวจากต้นคอจรดก้นกบ โดยมีแผ่นเนื้อเยื่อที่เรียกว่า “หมอนรองกระดูกสันหลัง” (intervertebral disc) คั่นกลางรอยต่อระหว่างกระดูกสันหลังแต่ละคู่ หมอนรองกระดูกนี้มีลักษณะยืดหยุ่นเพื่อช่วยให้สันหลังเคลื่อนไหวได้บ้าง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    การตอบปัญหาสุขภาพ (ตอนจบ)ตามที่ผมได้เกริ่นไว้ในคราวที่แล้วว่า จดหมายที่เขียนมาถามปัญหาสุขภาพให้ผมนั้นเป็นจดหมายที่ตอบยาก เพราะเขียนเล่าข้อมูลมาไม่ละเอียด ตอบแล้วอาจจะผิดพลาดทำให้เป็นอันตรายต่อผู้ถามได้ ซึ่งผมจะขอยกตัวอย่างอีกเล็กน้อยนะครับปัญหาที่ ๓“บางครั้งเวลาอยู่เฉยๆจะรู้สึกเจ็บเหมือนมีวัตถุแหลมทิ่มแทงเนื้อภายในร่างกาย ซึ่งจะทำให้สูดลมหายใจได้ไม่เต็มที่และเจ็บมากด้วย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    การครอบฟัน (ตอนจบ)ในฉบับที่แล้วผมได้เขียนถึงเรื่องการทำครอบฟันไปแล้ว และได้บอกว่าจะเขียนถึงเรื่องวัสดุที่ใช้ในการทำครอบฟัน เพื่อให้คนที่จะทำครอบฟันได้ทราบและสามารถเลือกได้ หรืออย่างน้อยก็มีส่วนในการตัดสินใจร่วมกับทันตแพทย์ที่รักษาท่านก็ยังดีการทำครอบฟันฟันหน้าเราต้องทำการพิจารณาเลือกใช้วัสดุที่มีสีเหมือนธรรมชาติเป็นอันดับแรก เพื่อความสวยงาม ซึ่งมีให้เลือกดังนี้1.พลาสติกหรืออะคริลิก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    การเคาะปอด เทคนิคขับเสมหะแบบประหยัดบางครั้งเราเดินเข้าไปในกลุ่มคน เราจะได้ยินเสียงไอ เสียงนั้นกลั้วไปด้วยเสมหะในคอ แล้วตามด้วยการขากเอาเสมหะทิ้ง บางครั้งก็เงียบเสียงไปเลยไม่ว่าเด็กหรือผู้ใหญ่ ย่อมเกิดภาวะนี้ได้เสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงฤดูฝนที่เป็นไข้หวัดกันได้ง่าย หรือในหมู่คนที่สูบบุหรี่เสมหะเกิดขึ้นได้อย่างไร เสมหะมีคุณประโยชน์หรือโทษเราจะขจัดเสมหะได้อย่างไร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    ลิ้นคือหน้าต่างของร่างกายการเกิดและดำเนินของโรคนั้นเป็นกระบวนการที่ค่อนข้างสลับซับซ้อน การดูลิ้นเป็นวิธีการอย่างหนึ่งที่ทำให้เราเข้าใจการดำเนินและการเปลี่ยนแปลงของโรคได้ หลักการสำคัญในการดูลิ้นนั้น กล่าวโดยรวมๆแล้วก็คือ การดูตัวลิ้นและฝ้าบนลิ้น โดยทั่วไปแล้วการดูลักษณะของลิ้นจะทำให้เราเข้าใจสภาพร่างกายของผู้ป่วย และความรุนแรงของโรค ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    ข้อปฏิบัติตอนตื่นนอนตราบใดที่มนุษย์ต้องการการนอนหลับ ตราบนั้นย่อมมีการตื่นนอน และเนื่องจากการนอนหลับมีอยู่หลายรูปแบบในภาวะต่างๆกัน เช่น นอนหลับบนเตียง นั่งสัปหงก ยืนหลับใน หลับเวลาทำงานหรือขับรถ การตื่นนอนในแต่ละภาวะจึงแตกต่างกันด้วยการตื่นนอนโดยทั่วไปเกิดขึ้นได้ใน2 ลักษณะ คือ การตื่นนอนเองและตื่นจากปัจจัยภายนอก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 กรกฎาคม 2537
    อุบัติเหตุในเด็กนั้น มักเป็นสาเหตุใหญ่ที่ทำให้เด็กเสียชีวิตหรือพิการ และยังทำให้เกิดผลร้ายต่อจิตใจพ่อแม่และทุกคนที่เกี่ยวข้องด้วย คนส่วนใหญ่เข้าใจว่าอุบัติเหตุป้องกันไม่ได้ แต่ความจริงแล้วเราสามารถป้องกันได้การเกิดอุบัติเหตุในเด็ก อาจแบ่งตามสถานที่เกิดเหตุและกิจกรรมที่เด็กทำได้ดังนี้อุบัติเหตุในบ้าน“บ้าน” เป็นสถานที่ซึ่งเด็กใช้ชีวิตอยู่มากเป็นอันดับหนึ่ง อุบัติเหตุจึงเกิดในบ้านได้บ่อย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 183 กรกฎาคม 2537
    การทำแท้งการทำแท้งเป็นข่าวใหญ่เมื่อเร็วๆนี้ โดยมีการไปจับที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่งจากการวิจัยโดยคณะกรรมการของศาสตราจารย์นายแพทย์สุพร เกิดสว่าง ประมาณการว่าในปีหนึ่งๆ น่าจะมีการทำแท้งประมาณ 300,000 คนหากพูดเฉพาะเทคนิคที่ใช้ทำ ถ้าลักลอบทำโดยคนที่ขาดความรู้ความชำนาญก็เป็นอันตรายถึงชีวิตถ้าใครเคยเห็นเด็กผู้หญิงที่ทำแท้งแล้วต้องเจ็บหนักจนจวนเจียนเสียชีวิตแล้วจะน่าสงสารมาก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 183 กรกฎาคม 2537
    สารเคมีเข้าตาคุณสมชายเป็นหนุ่มเจ้าสำราญ ซึ่งแม้ว่าจะแต่งงานเป็นหลักเป็นฐานกับคุณปรานีมา 2 ปีแล้ว ก็ยังไม่วายไปทำเจ้าชู้กับคุณธิดา คุณปรานีโกรธเคืองมากและเคยห้ามปรามสามีแล้ว แต่คุณสมชายก็ยังประพฤติตัวเช่นเดิม จนคุณปรานีโกรธจัดไปนำน้ำกรดที่ใช้เติมแบตเตอรี่รถยนต์สาดเข้าบริเวณใบหน้าคุณธิดาระหว่างที่เธอเผลอ น้ำกรดโดนบริเวณใบหน้าคุณธิดาเต็มที่ และยังกระเด็นใบหน้าบางส่วนของคุณสมชายด้วย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 183 กรกฎาคม 2537
    แพ้ยาคำว่า แพ้ยา ที่ใช้กันตามความหมายของคนโดยทั่วไปนั้นหมายถึง อาการที่ไม่พึงประสงค์ซึ่งเกิดจากการใช้ยา ยกตัวอย่างเช่น กินยาเข้าไปแล้วเกิดมีอาการปวดศีรษะ มึนศีรษะ หน้ามืดตาลาย ใจสั่น เหงื่อแตก ก็เรียกกันว่าแพ้ยาในการใช้ยานั้น แพทย์มุ่งหวังที่จะให้ยากับคนไข้เพื่อบรรเทาอาการเจ็บไข้ได้ป่วยหรือรักษาโรคให้หาย แต่ในขณะเดียวกันคนไข้บางคนอาจจะมีอาการแทรกซ้อนซึ่งเป็นผลเสียของการใช้ยา ...