บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 289 พฤษภาคม 2546
    ผลดี-ผลเสียของอาหารที่ปนเปื้อนจีเอ็มโอถาม : แก้วเกล้า/กรุงเทพฯดิฉันมีความสงสัยเกี่ยวกับเรื่องอาหารที่ปนเปื้อนจีเอ็มโอว่าจะมีผลต่อร่างกายของมนุษย์อย่างไรบ้าง เพราะมีการต่อต้านกันอยู่ จึงสงสัยค่ะว่ามันดีหรือไม่ดีอย่างไร และเรามีวิธีจะสังเกตได้อย่างไรว่าอาหารหรือผลิตภัณฑ์ จากอาหารชนิดไหนที่มาจากการตัดแต่งพันธุกรรมบ้างตอบ : รศ.ดร.ทรงศักดิ์ ศรีอนุชาตอาหารจีเอ็มโอ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 289 พฤษภาคม 2546
    เมี่ยงคำ จานนี้ได้อะไรท่านผู้อ่านที่เป็นแฟนประจำของหมอชาวบ้าน คงจะแปลกใจที่คอลัมน์เข้าครัวในครั้งนี้นำเสนอ คุณค่าทางโภชนาการของอาหารว่าง ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะนำเสนอเป็นคุณค่าทางโภชนาการของอาหารจานเดียวหรืออาหารร่วมสำรับ อย่างไรก็ตามความน่าสนใจที่จะให้ข้อมูลเรื่องอาหารแก่ทุกๆ ท่าน เพราะอาหารไทยของเรานั้นจะประกอบด้วย อาหารคาวหวาน และอาหารว่างด้วย ซึ่งมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 228 เมษายน 2546
    ๙๔ ชีวิต สู่แดนพุทธภูมิระหว่าง ๑๙ กุมภาพันธ์ - ๔ มีนาคม ๒๕๔๖ กลุ่มแพทย์ พยาบาล และสัมมาอาชีวะอื่นๆอันหลากหลาย รวม ๙๔ ชีวิต ภายใต้การนำของนายแพทย์โรจน์รุ่ง สุวรรณสุทธิ ได้เดินทางไปสักการะสังเวชนียสถาน ๔ แห่ง ในประเทศอินเดียและเนปาล เริ่มแต่วัดอโศการาม เมืองปฏลีบุตร (ชื่อเก่า) ที่ทำสังคายนาพระไตรปิฎกครั้งที่ ๓ นาลันทา บ้านเกิดพระสารีบุตร วัดเวฬุวัน เมืองราชคฤห์ ซึ่งเป็นวัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 288 เมษายน 2546
    ประสบการณ์จากโรคเบาหวานของพ่อดิฉันทำงานเป็นพยาบาลอยู่ในโรงพยาบาลจึงมักจะได้พบเจอผู้คนมากมายที่เข้ามารับการรักษาทุกวัน งานของดิฉันก็จะเกี่ยวกับการซักประวัติของผู้ป่วยก่อนส่งพบแพทย์เพื่อทำการตรวจรักษา และหน้าที่สำคัญอีกอย่างก็คือการให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว หลายครั้งที่ดิฉันพบว่าผู้ป่วยไม่ยอมรับว่าตนเองป่วย จึงมารับการรักษาแบบเชื่อครึ่งๆ กลางๆ ไม่ปฏิบัติตามคำแนะนำเพราะคิดว่าตนเองหายแล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 288 เมษายน 2546
    ดัดตนแก้เอวขดขัดขาเรื่องของความสุขทางกายและใจ ทุกคนที่เกิดมาในโลกต้องการทั้งนั้น ความสุขทางใจนั้นจะมีได้ก็ ต้องฝึกจิตให้ดี ยังมีคนอีกมากคิดว่าเรื่องฝึกจิตเป็นของพระและผู้สูงอายุหรือประเทศที่ด้อยพัฒนา เมื่อเดือนพฤศจิกายนปีที่แล้วผมได้มีโอกาสไปเมืองฮิโรชิมาประเทศญี่ปุ่น ตอนนั้นอากาศที่นั่นหนาวมาก ผมได้ไปเที่ยวงานเทศกาลที่ศูนย์การค้านั้น เขามีการออกร้านเหมือนงานวัดบ้านเราจะมีร้านแปลกจากของเราคือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 288 เมษายน 2546
    โยคะ ยารักษา โรคอวิชชาในช่วงนี้ ใครไม่พูดถึงโยคะดูออก จะเป็นเรื่องเชยสักหน่อย ขนาดโฆษณาสินค้าทางโทรทัศน์ตั้งหลายผลิตภัณฑ์ยังใช้โยคะเป็นฉากในการเดินเรื่องเลย อย่างไรก็ตาม ในแง่ของความเข้าใจ คนทั่วไปก็ยังมีความรับรู้ต่อโยคะคลาดเคลื่อนอยู่มาก สังเกตได้ว่า ทุกวันนี้คนที่สนใจมาเรียนโยคะจำนวนมากก็ยังมีความ เข้าใจเดิมๆ รับรู้เพียงว่าโยคะเป็นเพียงการออกกำลังกายชนิดหนึ่งดังที่ได้นำเสนอทางคอลัมน์โยคะ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 288 เมษายน 2546
    เด็กไทยกับนิสัยการกินโรคอ้วนหรือภาวะโภชนาการเกิน กลายเป็นโรคที่กำลังระบาดอยู่ทั่วโลก ทั้งในประเทศที่พัฒนา แล้วและที่กำลังพัฒนา มีรายงานว่าประมาณร้อยละ ๕๕ ของประชากรผู้ใหญ่ในประเทศสหรัฐอเมริกามีภาวะโภชนาการเกิน นอกจากนี้ยังพบว่าในเด็กทุก ๔ คน จะเป็นเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกิน ๑ คน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 288 เมษายน 2546
    โรคกระเพาะ*ชื่อภาษาไทย: โรคกระเพาะ อาหารไม่ย่อย โรคแผลในกระเพาะ โรคแผลเพ็ปติก*ชื่อภาษาอังกฤษ: Dyspepsia, Peptic ulcer (PU)*สาเหตุ: คำว่า "โรคกระเพาะ" ในที่นี้หมายถึงอาการปวดแสบ จุกแน่น หรืออืดเฟ้อ ตรง บริเวณลิ้นปี่หรือยอดอก มักเกิดขึ้นตอนหิว (ก่อน อาหาร) หรือตอนอิ่ม (หลังอาหาร)สาเหตุสามารถแบ่งออกเป็น ๒ กลุ่มใหญ่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 288 เมษายน 2546
    การฝึกโยคะดีจริงหรือ?สิ่งที่เป็นยอดปรารถนาของมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัย ทุกมุมโลก คือการดำรงชีวิตอย่างมีความสุข มีสุขภาพดี และ ร่างกายที่แข็งแรง ไม่เจ็บไข้ได้ป่วย เมื่อพูดถึงการมีร่างกายที่แข็งแรงก็มักจะตาม ด้วยคำแนะนำให้มีการออกกำลังกายอย่าง เพียงพอและเป็นประจำ คำว่าการออก กำลังกายเรามักจะนึกถึงการไปเล่นกีฬาต่างๆ เช่น เทนนิส ว่ายน้ำ ฟุตบอล หรือ ในปัจจุบันจะรวมถึงการมีกิจกรรมเคลื่อน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 288 เมษายน 2546
    ฝ้า...ปัญหาที่ต้องทำความเข้าใจเมื่อเริ่มเป็นสาว ปัญหาผิว พรรณที่เกิดขึ้นกับวัยรุ่นส่วนมากคือเรื่องสิว ครั้นพออายุย่างเข้าเลข ๓ ผู้หญิงจำนวนไม่น้อยก็ต้องเผชิญกับปัญหาเรื่องฝ้า ที่ทำให้ใบหน้ามีร่องรอย ด่างดำ หมองคล้ำ บางคนปล่อย ให้ฝ้าลุกลามขยายเต็มใบหน้า เพราะคิดว่าเป็นเรื่องธรรมชาติ ในขณะที่อีกหลายคนดิ้นรนรักษาทุกวิธี ...