ผศ.นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
390
ตุลาคม 2554
ต้อกระจกคือโรคที่เกิดการเสื่อมหรือขุ่นของเลนส์ตามนุษย์ โดยมนุษย์ทุกคนต้องมีการเกิดต้อกระจกในที่สุด เพราะเป็นการเสื่อมตามธรรมชาติ อาจเร็วหรือช้า เช่น เด็กบางคนอาจเป็นโรคต้อกระจกมาแต่กำเนิดโดยทั่วไปมักเริ่มมีอาการของโรคต้อกระจก คือมองเห็นภาพเป็นหมอกหรือควันบัง หลังอายุ ๕๐ ปีขึ้นไป แต่อาจเป็นเร็วขึ้นกรณีมีโรคประจำตัว เช่น โรคเบาหวาน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
389
กันยายน 2554
“ตาต้อ” เป็นกลุ่มของโรคตา “ต้อ” ที่มีลักษณะแตกต่างกัน ฉบับนี้ มาทำความรู้จัก “ตาต้อ” กันดีกว่า๑.โรคต้อของตามีกี่โรค และมีความแตกต่างกันอย่างไรตอบ คำว่าต้อเป็นคำทั่วไปหมายถึงตา ดังนั้น เมื่อบอกว่าเป็นโรคต้อ ต้องระบุให้ชัดเจนว่าเป็นโรคต้อชนิดใด ที่พบบ่อยๆ และควรทราบ เรียงลำดับตามความรุนแรงจากน้อยไปมาก ดังนี้๑.โรคต้อลม (Pinguecular)มีลักษณะเป็นเยื่อสีขาวหรือขาวเหลืองบริเวณตาขาวข้างๆ ตาดำ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
384
เมษายน 2554
วันเวลาที่ผ่านล่วงเลยไป จากวัยเด็ก สู่วัยผู้ใหญ่ และผ่านเข้าสู่วัยสูงอายุ ดวงตาเป็นอวัยวะสำคัญที่ต้องได้รับการดูแล เพื่อให้สามารถมองโลกที่สดใสได้ตลอดไป การเปลี่ยนแปลงหรือความเสื่อมอาจเกิดขึ้นกับส่วนต่างๆ ของตา ทำให้เกิดโรคทางตาในผู้สูงอายุ โรคทางตาที่ควรรู้จักเพื่อรักษาสุขภาพตาของผู้สูงอายุให้อยู่ได้นานที่สุด ดังนี้ ๑.โรคต้อกระจก โรคต้อกระจก (cataract) ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
383
มีนาคม 2554
เมื่อกล่าวถึงโรคต้อหิน หลายคนมักเข้าใจว่าเป็นโรคที่รักษาไม่ได้ มีแต่ทรงกับทรุด และจะต้องตาบอดในที่สุด ความเข้าใจเหล่านี้อาจยังไม่ถูกต้องนัก โดยเฉพาะในยุคปัจจุบันซึ่งมีการพัฒนาเทคโนโลยี และเครื่องมือที่ทันสมัยในการตรวจวินิจฉัยและรักษาโรคต้อหิน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
385
มกราคม 2554
วัยทำงาน เป็นช่วงเวลาที่มีความจำเป็นต้องใช้สายตามากกว่าช่วงเวลาอื่น ดังนั้นการดูแลถนอมดวงตาให้ปลอดภัยจากโรคต่างๆ จึงเป็นสิ่งจำเป็นโรคตาที่พบได้บ่อยในวัยทำงานที่ควรรู้จัก ได้แก่ สายตาผิดปกติ ปัญหาจากการใช้คอมพิวเตอร์ ต้อลมและต้อเนื้อ อุบัติเหตุกับดวงตาสายตาผิดปกติสายตาผิดปกติ คือภาวะที่ทำให้ตามัว มีลักษณะคล้ายการถ่ายภาพไม่ชัดหรือภาพไม่โฟกัส อาจเป็นสายตาสั้น สายตายาว หรือสายตาเอียง ...