สปสช สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
356
ธันวาคม 2551
ปัจจุบัน ผู้มีสิทธิบัตรทอง หรือบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า ได้รับสิทธิเพิ่มเติมในการบริการทดแทนไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ด้วยวิธีการผ่าตัดปลูกถ่ายไต (Kidney Transplantation หรือ KT การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (Hemodialysis หรือ HD) และล้างไตผ่านทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง (Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis หรือ CAPD ซึ่งแต่ละวิธีมีข้อดีข้อด้อยที่แตกต่างกัน สำหรับการผ่าตัดปลูกถ่ายไตใหม่ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
355
พฤศจิกายน 2551
ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย สำหรับผู้มีสิทธิบัตรทองTip : การล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง (Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis หรือ CAPD) เป็นวิธีการดูแลรักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการยอมรับวิธีหนึ่ง ซึ่งผู้ป่วยไตวายเรื้อรังสามารถทำได้ด้วยตนเอง และในช่วงเวลาที่น้ำยาอยู่ในช่องท้องสามารถทำงานได้ตามปกติ ทำให้ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเดินทางเพื่อพบแพทย์บ่อยครั้ง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
353
กันยายน 2551
ผู้มีสิทธิบัตรทอง หรือสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยผู้มีสิทธิต้องมีสัญชาติไทย และมีเลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก และไม่มีสิทธิสวัสดิการด้านการรักษาพยาบาลอื่นใดที่รัฐจัดให้ ปัจจุบันมีอยู่ประมาณ 46.91 ล้านคน (รายงานการลงทะเบียน สปสช. ประจำเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2551) เมื่อผ่านกระบวนการตรวจสอบสิทธิ์ดังกล่าวจากเจ้าหน้าที่ที่ขึ้นทะเบียนทำบัตรทองแล้ว ผู้มีสิทธิจะได้รับ "บัตรทอง" ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
352
สิงหาคม 2551
"เบาหวาน" โรคเรื้อรังอันตรายติดอันดับ 1 ใน 5 ของโลก เนื่องจากอาจส่งผลทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน ถึงขั้นตาบอด โรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย ไตวายเรื้อรัง หรือต้องตัดขาเนื่องจากแผลเน่าเปื่อย....Tip : ระดับน้ำตาลในเลือดเท่าไหร่ที่จะบอกว่าเป็นโรคเบาหวาน 1. ตรวจพบระดับน้ำตาลในเลือดก่อนรับประทานอาหารเช้าได้มากกว่า 140 มิลลิกรัม/เดซิลิตร 2 ครั้ง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
329
กันยายน 2549
บัตรทองคุ้มครองผู้ป่วยโรคฮีโมฟีเลีย"ฮีโมฟีเลีย" หรือ "โรคเลือดออกง่ายหยุดยาก" เป็นโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมจากแม่สู่ลูกผู้เป็นโรคนี้เลือดจะออกง่ายและหยุดยาก โดยเฉพาะในข้อหรือกล้ามเนื้อคนไทยกว่า ๔,๐๐๐ คนกำลังผจญโรคนี้ โรคเลือดออกง่ายหยุดยากมี ๒ ชนิดคือ โรคฮีโมฟีเลียเอ (พบมากกว่า) เกิดจากการขาดปัจจัยการแข็งตัวในเลือดชื่อว่าแฟกเตอร์แปด และโรคฮีโมฟีเลียบี ...