-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
80
ธันวาคม 2528
การออกกำลังกายในน้ำการออกกำลังกายในน้ำต่างกับบนพื้นดินอย่างไรถ้าเราลงไปอยู่ในน้ำลึกถึงระดับหน้าอก จะพบว่าเราไม่สามารถนั่งลงกับพื้นสระได้ง่าย เหมือนขณะที่เราอยู่บนบกและนั่งลงกับพื้นดิน อาจต้องใช้การกระโดดให้เท้าลงและยกแขนชูไว้ เพื่อให้ลงไปแตะพื้นสระได้ เมื่อนั่งได้แล้วถ้าเราปล่อยตัวตามสบายเหมือนขณะนั่งบนพื้นดิน เราจะรู้สึกว่ามีแรงดันตัวเราขึ้น เท้าจะลากไปตามพื้นสระ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
79
พฤศจิกายน 2528
การนวด กับการออกกำลังกายผู้ที่ชอบดูกีฬาต่างๆ โดยเฉพาะกีฬามวย มักจะสังเกตได้ว่าในแต่ละยก พี่เลี้ยงมักลงมือบีบนวดกล้ามเนื้อของนักมวย โดยเฉพาะตามแขนขาก่อนการชกในยกต่อไป กีฬาอื่นๆ เช่น ฟุตบอล มักจะมีผู้ที่เก่งการนวดประจำอยู่ในทีม ทำหน้าที่บีบนวดนักกีฬาก่อนการแข่งขัน และหลังจากมีการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อในสนามแข่ง บ่อยครั้งที่ตัวเราเองหลังจากเล่นกีฬา หรือออกกำลังกายใหม่ๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
78
ตุลาคม 2528
การบริหารในระบบหายใจในบรรดานวนิยาย หรือภาพยนตร์โทรทัศน์ ที่เกี่ยวข้องกับการฝึกวิทยายุทธนั้น การฝึกควบคุมลมปราณหรืออีกนัยหนึ่งการควบคุมระบบหายใจ ย่อมเป็นแหล่งเกิดแห่งพลังสูงสุดของร่างกายตามตำนานยังกล่าวไว้ว่า การฝึกกำหนดลมปราณ ยังสามารถรักษาอาการปวดเจ็บทั้งภายในและภายนอก ทั้งยังสามารถป้องกันโรคภัยไข้เจ็บได้อย่างมหัศจรรย์เรื่องที่กล่าวมานี้ สร้างความฮือฮามิใช่น้อยต่อผู้ที่ได้รับชมได้ยินมา ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
77
กันยายน 2528
การปรับตัวของระบบไหลเวียน ขณะออกกำลังกายชีพจรเขาเต้นถึง 200 ครั้ง/นาทีค่าของความดันเลือดวัดได้ 180 มิลลิเมตรปรอทค่าล่างวัดได้ 85 มิลลิเมตรปรอทเสียงหัวใจเต้นดังอย่างกับตีกลองรบเหงื่อออกเต็มหน้าผากอุณหภูมิกายสูงขึ้นเล็กน้อยหายใจ 40 ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
76
สิงหาคม 2528
การควบคุมการเคลื่อนไหวนักกีฬาที่เกิดอุบัติเหตุในการเล่นกีฬา จนกระดูกหักและต้องได้รับการผ่าตัดหรือเข้าเฝือก มักพบว่า หลังจากผ่าตัดใหม่ๆ หรือเข้าเฝือกแล้ว อาจเคลื่อนไหวส่วนนั้นไม่ได้ หรือเคลื่อนไหวด้วยความลำบาก ทั้งๆ ที่กระดูกก็ต่อกันดีแล้ว กล้ามเนื้อไม่ได้สูญเสียไป และข้อต่อก็ไม่ได้ติดขัดเลยบางครั้งอาจพบว่า ความรู้สึกบนผิวหนังก็เสียไปด้วย สาเหตุที่เป็นเช่นนี้ เนื่องจากอาจมีเส้นประสาทเล็กๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
75
กรกฎาคม 2528
กล้ามเนื้อและการเคลื่อนไหวในการออกกำลังกาย ตัวจักรที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวของข้อต่อต่างๆ ก็คือ กล้ามเนื้อ นั้นเองการเคลื่อนไหว เกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อ ซึ่งเกาะระหว่างกระดูกที่อยู่เหนือและใต้ข้อต่อนั้น กล้ามเนื้อจึงมีส่วนสำคัญมากที่จะทำให้ออกกำลังกายหรือการเล่นกีฬาทุกชนิดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเข้าสู่ชัยชนะได้ตามความประสงค์ของผู้เล่นกล้ามเนื้อในร่างกายมนุษย์แบ่งได้เป็น 3 ชนิด ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
73
พฤษภาคม 2528
การเคลื่อนไหวของข้อต่อในการแข่งขันบาสเกตบอลครั้งหนึ่ง ขณะที่นักกีฬากำลังโดดขึ้นตีลูกบอลฝ่ายตรงข้ามคนหนึ่งวิ่งมาฉุดแขนของนักกีฬาอีกข้างหนึ่ง (ที่ห้อยอยู่ข้างๆ) ผลก็คือ แรงพุ่งขึ้นของนักกีฬาผู้นั้นทำให้ข้อไหล่หลุดออก และถึงที่แม้จะทำการรักษาให้เข้าที่เหมือนเดิม นักกีฬาผู้นั้นก็ใช้แขนไม่ได้ดีเท่าที่ควร ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
72
เมษายน 2528
ในระยะนี้ นักกีฬาที่ดีที่สุดคงไม่พ้น นักมวยแชมเปี้ยนโลกนามว่า สด จิตรลดา เป็นแน่ สิ่งหนึ่งที่คนไทยทั้งชาติเป็นห่วงมาก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
71
มีนาคม 2528
เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาได้ผ่านไปที่คณะหนึ่งของมหาวิทยาลัยมหิดลในตอนเที่ยง จึงแวะกินอาหารที่ห้องอาหารซึ่งจัดไว้สำหรับอาจารย์ รู้สึกแปลกใจที่ถึงแม้เป็นช่วงเวลาสำหรับอาหารเที่ยงแต่ดูมีอาจารย์มากินอาหารน้อยมากและได้ยินเสียงดนตรีเร้าใจดังอยู่บนตึก สอบถามได้ความว่า เหล่าอาจารย์กำลังเต้นแอโรบิคอยู่ข้าพเจ้ารู้สึกปลาบปลื้มขึ้นมาทันที ถ้าอาจารย์ในมหาลัยตื่นตัวในการออกกำลังกาย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
70
กุมภาพันธ์ 2528
เช้าตรู่ของวันที่ 13 มกราคม 2528 มีการวิ่งศิริราชมาราธอนครั้งที่ 2 (8 กิโลเมตร) ขณะที่ข้าพเจ้ายืนรอคอยนักวิ่งอยู่ที่เส้นชัย ทันใดนั้น นักวิ่งคนแรกปรากฏขึ้นที่สุดขอบถนน ภาพนั้นค่อย ๆ ชัดเจนขึ้น การเคลื่อนไหวของนักวิ่งที่ดูเสมือนหนึ่งภาพช้าบนจอภาพยนตร์ขณะยังอยู่ห่างไกลออกไป กลับกลายเป็นการเคลื่อนไหวที่รวดเร็วดุจลมกรด เมื่อเข้ามาใกล้สายตาและเต็มจอภาพของสายตามากขึ้น ...