นพ.ครรชิต ลิมปกาญจนารัตน์
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
130
กุมภาพันธ์ 2533
การเฝ้าระวัง : หู ตา ของการควบคุมโรคในครั้งก่อนๆ ผมได้เขียนถึงความหมายของการเฝ้าระวังโรคเอาไว้ แต่ยังไม่ได้มีโอกาสเขียนถึงขอบข่ายงาน และประโยชน์ของการนำไปใช้ว่ามีประโยชน์อย่างไรให้ทราบ เพื่อให้สามารถนำไปใช้ได้ ก็ขอถือโอกาสนี้นำมาเสนอเสียเลย อีกทั้งต้องการบอกว่า การเฝ้าระวังโรคนี้เป็นสิ่งที่ทุกคนอาจให้ความร่วมมือเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายด้วยก็ได้การเฝ้าระวังโรคหมายถึงอะไรการเฝ้าระวังโรคนี้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
129
มกราคม 2533
สะพานข้อมูลไทย-ลาว (ตอนจบ)ผมทิ้งค้างเอาไว้ว่าจะไปจัดหลักสูตรการฝึกอบรมให้แก่แพทย์ของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว แพทย์ของเขามี 3 ชั้น คือ แพทย์ชั้นสูง เทียบเท่ากับแพทย์บ้านเรานี้เอง แพทย์ชั้นกลางหรือแพทย์ผู้ช่วย ที่เมืองไทยไม่ได้สร้างบุคลากรแขนงนี้ และแพทย์ชั้นต้น คือ พยาบาล นั่นเองในหลักสูตรก็มีผู้มาร่วมอบรมทั้ง 3 ชั้น โดยส่วนใหญ่เป็นแพทย์ชั้นสูง ปัญหาที่เกิดขึ้น ก็คือ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
128
ธันวาคม 2532
สะพานข้อมูลไทย-ลาวในครั้งที่แล้วผมได้เกริ่นเอาไว้ถึงระบบเฝ้าระวังโรคของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ส.ป.ป.ล.) ว่าเขามีความพยายามที่จะเริ่มทำแบบใหม่ แต่ไม่สำเร็จ ผมก็พยายามวิเคราะห์ว่าต้องมีปัญหาอะไรแน่ จึงทำให้การริเริ่มหลายครั้งหลายครา ประสบความล้มเหลวปัจจัยหลักที่ผมคิดว่าเป็นไปได้มาก คือ ผู้เชี่ยวชาญที่มาเป็นที่ปรึกษาให้เขา ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
127
พฤศจิกายน 2532
สะพานข้อมูลไทย-ลาวสำหรับคอลัมน์กันไว้ดีกว่าแก้ฉบับนี้ของหมอชาวบ้าน ผมขออนุญาตพาท่านผู้อ่านออกนอกเรื่องอีกสักฉบับนะครับ คือ ต้นฉบับนี้เขียนขึ้นในขณะที่ผมรับมาทำหน้าที่ของผู้เชี่ยวชาญระยะสั้นให้แก่องค์การอนามัยโลก ระหว่างวันที่ 1-31 สิงหาคม 2531 ณ นครเวียงจันทน์ เมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ส.ป.ป.ล.) ซึ่งมีคำขวัญของประเทศว่า (เป็นตัวอักษรลาวค่ะ) แปลเป็นไทยว่า “สันติภาพ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
125
กันยายน 2532
อาหารเป็นพิษ เรื่องง่ายที่เล่นยาก2 สัปดาห์ก่อนการเขียนต้นฉบับนี้ ผมได้ไปร่วมกับคณะสอบสวนโรคของกองระบาดวิทยา ออกทำการสอบสวนการระบาดของอาหารเป็นพิษ ในหอพักนักเรียนชาวเขาแห่งหนึ่งที่จังหวัดเชียงราย และถัดมาอีก 1 สัปดาห์ ก็ทราบว่ามีการระบาดของอาหารเป็นพิษเกิดขึ้นอีกในโรงเรียนอีกแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานครการระบาดครั้งแรก มีการนำไปลงหนังสือพิมพ์ พาดหัวข่าวซะใหญ่โตว่าเป็น “อาหารมฤตยู” ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
123
กรกฎาคม 2532
ข้อควรรู้ 5 ประการเกี่ยวกับโรคอีสุก-อีใสระยะนี้ในช่วงที่ผมไปทำงานนอกเวลาที่คลินิกแห่งหนึ่ง มักจะพบผู้ปกครองพาเด็กที่ป่วยมารับการรักษา ผู้ป่วยเหล่านี้จะมีอาการที่เห็นแว่บแรกก็แทบจะให้การวินิจฉัยได้เลย เพราะมีลักษณะคล้ายกันหมด คือ ผื่นเป็นตุ่มหนองใส เม็ดเล็ก เม็ดใหญ่ ทั้งที่หน้า ที่แขนเต็มไปหมด แต่รายที่น่าสนใจ คือ เมื่อ 2 สัปดาห์ก่อน (การเขียนต้นฉบับนี้) มีชายไทยอายุประมาณ 27 ปี ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
119
มีนาคม 2532
คอลัมน์นี้ได้รับความร่วมมือจากชมรมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย นับเป็นครั้งแรกที่เราจะนำความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ของโรคต่าง ๆ ในประเทศลงตีพิมพ์ติดต่อกัน โดยจะครอบคลุมไปถึงลักษณะของโรคที่ควรรู้ในฤดูกาลต่าง ๆ กัน ตลอดจนวิธีการป้องกันโรคนั้น ๆ ด้วยโดยหวังว่าความรู้เหล่านี้จะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในชุมชน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
117
มกราคม 2532
คอลัมน์นี้ได้รับความร่วมมือจากชมรมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย นักเป็นครั้งแรกที่เราจะนำความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ของโรคต่าง ๆ ในประเทศลงตีพิมพ์ติดต่อกัน โดยจะครอบคลุมไปถึงลักษณะของโรคที่ควรรู้ในฤดูกาลต่าง ๆ กัน ตลอดจนวิธีการป้องกันโรคนั้น ๆ ด้วย โดยหวังว่าความรู้เหล่านี้จะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในชุมชน เป็นการเสริมทรัพยากรระหว่างภาครัฐและเอกชนเพื่อควบคุมและป้องกันโรค ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
114
ตุลาคม 2531
คอลัมน์นี้ได้รับความร่วมมือจากชมรมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย นับเป็นครั้งแรกที่เราจะนำความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ของโรคต่าง ๆ ในประเทศลงตีพิมพ์ติดต่อกัน โดยจะครอบคลุมไปถึงลักษณะของโรคที่ควรรู้ในฤดูกาลต่าง ๆ กัน ตลอดจนวิธีการป้องกันโรคนั้น ๆ ด้วยโดยหวังว่าความรู้เหล่านี้จะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในชุมชน เป็นการเสริมทรัพยากรระหว่างภาครัฐและเอกชนเพื่อควบคุมและป้องกันโรค ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
112
สิงหาคม 2531
คอลัมน์นี้ได้รับความร่วมมือจากชมรมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย นับเป็นครั้งแรกที่เราจะนำความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ของโรคต่างๆในประเทศลงตีพิมพ์ติดต่อกัน โดยจะครอบคลุมไปถึงลักษณะของโรคที่ควรรู้ในฤดูกาลต่าง ๆ กัน ตลอดจนวิธีการป้องกันโรคนั้น ๆ ด้วย โดยหวังว่าความรู้เหล่านี้จะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในชุมชน เป็นการเสริมทรัพยากรระหว่างภาครัฐและเอกชนเพื่อควบคุมและป้องกันโรค ...