-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
311
มีนาคม 2548
เดี๋ยวนี้ใครๆ ก็พากันพูดถึงเรื่อง สารต้านอนุมูลอิสระ หรือแอนติออกซิเดนต์(antioxidant) กันว่า เป็นสิ่งวิเศษช่วยป้องกันโรคสารพัดชนิด อาจกลายเป็นยาผีบอกแบบสมัยโบราณไปก็ได้ ลองมาทำความรู้จักกับเจ้าตัวนี้ และผู้บริโภคได้ประโยชน์จากสารตัวนี้อย่างไร ในรายงานของเครือข่าย "เฮน (Health Evidence Network-HEN)" ซึ่งเป็นเครือข่ายภายในองค์การอนามัยโลก ภาคพื้นยุโรป ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
310
กุมภาพันธ์ 2548
หมอจำนวนมากทั่วโลกเชื่อว่า การใช้ยาลดไขมันในเลือดที่ชื่อว่า "statins" ปลอดภัยกว่ายาลดไข้อย่างแอสไพริน แอสไพรินมีผลข้างเคียงทำให้เกิดแผลในกระเพาะอาหาร แต่แอสไพรินยังคงเป็นยาลดไข้ที่ได้ผลดีมากและยังใช้รักษาโรคอีกบางชนิด) ทำให้โฆษณากัน ในสื่อต่างๆ มากมาย ว่าเป็นยาวิเศษ ใช้ป้องกันโรคหัวใจได้ โดยเฉพาะแพทย์รักษาโรคหัวใจที่พากันเห็นพ้องต้องกันว่า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
309
มกราคม 2548
เราพูดกันเรื่องเด็กมาหลายตอนแล้ว วันนี้ขอเริ่มซีรี่ที่ ๒ จะพยายามสื่อสารในเรื่องยากๆ เช่น การวิจัยทางการแพทย์และสาธารณสุขภายใต้ซีรี่ "รู้มากไม่ยากนาน" หวังว่าผู้อ่านเมื่อได้รับรู้เรื่องสำคัญๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพ จะรู้เท่าทันและไม่บริโภคอย่างงมงาย อย่างน้อยต้องรู้จักตั้งคำถามกับตัวเองว่า ทำไมเราถึงเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ชนิดนี้ หลงเชื่อที่เขาโฆษณา หรือคนรู้จักแนะนำว่าใช้แล้วดี ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
208
สิงหาคม 2539
หอบเหนื่อย (๒)คนไข้รายที่ ๒ หญิงอายุ ๓o ปี ถูกพามาห้องฉุกเฉินที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่ง เพราะมีอาการหอบเหนื่อยมาก เวลาหายใจออกมีเสียงหวีดได้ยินชัดเจนญาติ : “คุณหมอช่วยหน่อยครับ หอบหืดอีกแล้ว”หมอ : “เป็นมานานหรือยัง”ญาติ : “ประมาณชั่วโมงเศษครับ กินยาและพ่นยาแล้วก็ไม่ดีขึ้น”หมอตรวจดูคนไข้ คนไข้นั่งหอบตัวโยน โดยหายใจออกลำบาก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
188
ธันวาคม 2537
ความดันต่ำไม่ใช่โรค“คุณหมอคะ ดิฉันมีอาการเวียนศีรษะหน้ามืดบ่อยๆ ไม่ทราบว่าใช่เป็นโรคความดันต่ำหรือเปล่าคะ” หญิงสาววัย ๓o เศษเอ่ยขึ้น“ส่วนมากจะมีอาการตอนไหน หรือขณะทำอะไรครับ” หมอซัก“มักจะเป็นอยู่วูบเดียวตอนลุกขึ้นนั่งหรือลุกขึ้นยืน พอตั้งหลักได้สักครู่ก็หาย แล้วก็ทำอะไรได้ปกติทุกอย่าง”หลังจากซักถามอาการต่างๆ ตรวจร่างกาย พร้อมทั้งวัดความดันเลือดเสร็จ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
182
มิถุนายน 2537
ปัญญาอ่อน – ดาวน์ซินโดรม(โรคที่เกิดจากมีแถบพันธุกรรมเกิน)“หมอรู้สึกเสียใจที่ตรวจพบว่าลูกชายของคุณเป็นโรคปัญญาอ่อน”ทารกน้อยหลังคลอดไม่ถึงเดือนหน้าตาแปลก ค่อนข้างนิ่งเฉย ไม่งอแง ดูเหมือนเด็กเลี้ยงง่าย คุณพ่อคุณแม่รู้สึกแปลกใจว่าผิดแผกจากเด็กอื่น จึงพามาปรึกษาหมอ“สายเลือดเราไม่มีใครเป็นโรคปัญญาอ่อนกันเลย ไม่อยากเชื่อว่าลูกของเราจะเป็นโรคนี้...” ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
181
พฤษภาคม 2537
ยีน-โครโมโซม-ดีเอ็นเอ(การพิสูจน์ความเป็นพ่อ-แม่-ลูก ตอนที่ 2)ตอนที่แล้วได้พูดจากันถึงความหมายของคำ 3 คำนี้สรุปโดยย่อ ก็คือ พันธุกรรมเปรียบเหมือนรหัสข้อมูลที่สามารถถ่ายทอดไปยังลูกหลาน ข้อมูลเหล่านี้แฝงอยู่ในโครโมโซม (chromosome) หรือแถบพันธุกรรม โครโมโซมแต่ละแถบจะประกอบด้วยยีน (gene) หรือลักษณะพันธุกรรมมากมาย และยีนแต่ละลักษณะประกอบด้วยสารดีเอ็นเอ (DNA) ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
180
เมษายน 2537
ยีน-โครโมโซม-ดีเอ็นเอ (ตอนที่ 1)ตอนก่อนๆ ได้พูดถึงเรื่องของโรคที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์หรือพันธุกรรม ครั้งที่แล้วคอลัมน์นี้ได้หายหน้าหายตาไป เนื่องเพราะได้ยกเนื้อที่ให้กับ “เรียนรู้จากข่าว” เรื่อง “ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ” ซึ่งก็เกี่ยวข้องกับเรื่องของพันธุกรรมเช่นเดียวกัน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
175
พฤศจิกายน 2536
กะบังลมหย่อน“คุณหมอครับ วันก่อนเจอเพื่อนมาจากต่างจังหวัด เล่าให้ฟังว่าจะมาผ่าตัดมดลูก ที่โรงพยาบาล เจ้าตัวบอกว่า เป็นโรคกะบังลมหย่อนมาหลายปีแล้ว หมอจะผ่าตัดให้ก็กลัว ผัดผ่อนมาเรื่อย จนทนรำคาญเรื่องฉี่ราดบ่อยๆ ไม่ไหว คราวนี้จึงยอมมาผ่าตัด ผมฟังแล้วก็ยังไม่หายสงสัยว่ากะบังลมข้องอะไรกับมดลูกด้วย” ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
171
กรกฎาคม 2536
กากใย-ไฟเบอร์ : อาหารต่ออาหาร“เมื่อคราวก่อนคุณหมอพูดถึงผักและผลไม้ว่ามีประโยชน์ต่อร่างกายของเรา จึงอยากให้คุณหมอช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้กระจ่างหน่อยเถอะครับ” นายแดงปุจฉาขึ้นมาอีกครั้ง“ข้อดีอันดับแรกสุด ก็คือ ผักและผมไม้ส่วนใหญ่กินมากเท่าไหร่ก็ไม่อ้วน เพราะให้พลังงานหรือแคลอรีน้อยมาก ไม่เหมือนอาหารพวกเนื้อ แป้ง น้ำตาล และไขมัน ที่ต้องกำจัดปริมาณให้พอเหมาะ” ...