-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
41
กันยายน 2525
ปวดข้อเข่าเพราะข้อเสื่อม หมอ : สวัสดีครับป้า เชิญนั่งสิ เป็นไงมาล่ะครับคนไข้ : ปวดหัวเข่าค่ะ โอ๊ย ! มันทรมานเสียจริง ๆ นั่งนาน ๆ ก็ปวด เดินนาน ๆ ก็ปวด...หมอ :ขึ้นบันได ลงบันไดก็ปวด นั่งยอง ๆ คุกเข่า ขัดสมาธิหรือนั่งพับเพียบก็ปวดด้วย ใช่ไหมครับ นั่งนานหน่อยจะลุกที ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
41
กันยายน 2525
โรคหัวใจฉบับที่แล้ว “โรคหัวใจที่พบบ่อยในประเทศไทย” ได้กล่าวถึงโรคที่เรียกกันเองแต่ไม่ใช่โรค คือ1.“โรคหัวใจอ่อน2.“โรคหัวใจโต”3.“โรคหัวใจวาย” กับ “ภาวะหัวใจล้ม”และโรคที่เกิดจากโรคหัวใจจริง ๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
40
สิงหาคม 2525
โรคหัวใจโรคหัวใจที่พบบ่อยในประเทศ คือ1.)โรคหัวในอ่อน“โรคหัวใจอ่อน” หรือบางคนอาจะเรียกว่า “โรคประสาทหัวใจ” หรือบางครั้งก็อาจจะมีชื่อแปลก ๆออกไป ทำให้คิดว่าเป็นเรื่องอื่น ๆ เช่น “โรคหัวใจวาย” “โรคความดันเลือดต่ำ” “โรคเลือดน้อย” เป็นต้น อาจจะกล่าวได้ว่าโรคนี้ หรือภาวะอย่างนี้พบบ่อยที่สุดในบรรดาโรคหัวใจทั้งหลาย ทั้ง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
39
กรกฎาคม 2525
โรคของนักบริหารนักบริหารโดยทั่วไปเป็นผู้ที่ทำงานโดยใช้กำลังปัญญามาก ใช้กำลังกายน้อย มนุษย์ยิ่งเจริญมากก็ใช้เครื่องจักรเครื่องกลผ่อนแรงมากขึ้น ตัวเองเพียงแต่วางแผนกำหนดการว่าจะให้ทำอะไร แล้วก็ออกคำสั่งให้ผู้อื่นหรือเครื่องจักรเป็นตัวกระทำโดยธรรมชาตินั้น ส่วนของร่างกายที่ใช้มากก็แข็งแรงมาก ส่วนที่ใช้น้อยหรือแทบไม่ได้ใช้เลยก็จะฝ่อห่อเหี่ยวลงไป จะเห็นได้ว่าคนที่เล่นกล้ามเมื่อหยุดเล่นไปนาน ๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
39
กรกฎาคม 2525
ปัสสาวะบอกโรคปัสสาวะเป็นสิ่งที่ขับถ่ายออกมาจากร่างกาย โดยไตจะกรองเอาของเสียและสิ่งที่มากเกินพอออกจากเลือด และขับออกมาเป็นปัสสาวะ ถ้าไตไม่ทำงาน จะมีของเสียคั่งในเลือด ทำให้เกิดอาการผิดปกติต่าง ๆ เช่น อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน สะอึก หอบเหนื่อย บวม เป็นต้นปัสสาวะเป็นสิ่งที่ช่วยบ่งบอกโรคได้หลายชนิด เช่น โรคไต โรคเบาหวาน โรคตับ โรคกระเพาะ ปัสสาวะอักเสบ โรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
38
มิถุนายน 2525
อัมพาตจากหลอดเลือดสมองพิการอัมพาต หมายถึง การเคลื่อนไหวส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายไม่ได้ กระดุกกระดิกไม่ได้ การที่เรายกแขนยกขาได้นั้นเพราะมีกล้ามเนื้อดึง การเคลื่อนไหวทุกชนิดเกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อโครงกระดูกเปล่า ๆ จะเคลื่อนไหวเองไม่ได้ฉะนั้นพวกเรื่องผี ๆ ที่มีแต่โครงกระดูกเดินเก้งก้างหรือที่หัวกะโหลกมันอ้าปากหงับ ๆ ได้เอง โดยไม่มีกล้ามเนื้อดังนั้น เป็นเรื่องหลอก ๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
37
พฤษภาคม 2525
โรคไต มาทำความเข้าใจกับโรคไตไตของเรานั้นมี 2 ข้าง อยู่ในระดับเอวของร่างกาย ในไตแต่ละข้างจะมีหน่วยทำงานเป็นหน่วยเล็ก ๆ ข้างละประมาณ 1 ล้านหน่วย หน่วยทำงานประกอบด้วยเครื่องกรองกับท่อไตเล็ก ๆ ซึ่งจะไปรวมกันเป็นท่อใหญ่แล้วลงมาที่ท่อไต แล้วก็ผ่านลงมาที่กระเพาะปัสสาวะ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
36
เมษายน 2525
ในกระบวนโรคหรือความไม่สบายทางกายต่างๆ ที่เกิดแก่คนเรานี้ โรคหรืออาการท้องผูกมาเป็นที่หนึ่ง ประเทศไทยสั่งยามาจากต่างประเทศปีละ 120 ตัน นับว่ามากกว่าการใช้ยาหลายชนิดทีเดียว คนโดยมากได้รับการบอกเล่ามาหรือเชื่อกันมาอย่างผิดๆ เกี่ยวกับเรื่องท้องผูก ตอนนี้ได้เวลาที่จะทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องนี้ให้กระจ่างเสียทีก่อนอื่นเราต้องเข้าใจกันเสียก่อนว่า ลำไส้ใหญ่ซึ่งเป็นที่พักของกากอาหาร ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
35
มีนาคม 2525
พยาธิตัวจี๊ด พอได้ยินชื่อปั๊บท่านผู้อ่านคงทราบได้ทันทีเลยใช่ไหมครับว่า พยาธิตัวนี้มันคงต้องทำให้เราเกิดอาการอะไรสักอย่างที่มีความรู้สึกจี๊ดๆ แน่ๆ ครับ…คงต้องมีอะไรจี๊ดๆ ในร่างกายแน่ ไม่งั้นคงไม่ชื่อนี้เพื่อให้เราทราบถึงที่มาของพยาธิตัวจี๊ด “หมอชาวบ้าน” จึงขอพาท่านมาคุยเรื่อง โรคพยาธิตัวจี๊ด กับ ศจ.น.พ.สวัสดิ์ แดงสว่างศจ.น.พ.เฉลิม พรหมมาส (คุณหลวงเฉลิมคัมภีรเวชช์) และ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
35
มีนาคม 2525
ในบ้านเราพบมะเร็งตับได้บ่อยไหม ?มะเร็งตับในเมืองไทยเรา นับว่าเป็นโรคที่พบบ่อยชนิดหนึ่ง จากรายงานสถิติเมื่อปีที่แล้ว จัดอยู่ในอันดับ 1 ของโรคมะเร็งที่เกิดในเพศชาย และอันดับที่ 4 หรือ 5 ในเพศหญิง ...