บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 117 มกราคม 2532
    ประชาชนทั่วไปสามารถที่จะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อย ๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80) จะรักษาได้ โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษพิสดารเรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” จะนำเสนอท่านเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้การดูแลรักษาตนเองและผู้อื่นในฉบับที่แล้วได้กล่าวถึงลักษณะ และการสังเกตคนไข้ที่มีอาการหายใจผิดปกติ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 116 ธันวาคม 2531
    คำพังเพยที่กล่าวว่า “ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง” ทำให้หลายท่านโดยเฉพาะสุภาพสตรีทั้ง หลายที่ขาดความเชื่อมั่นในรูปร่างหน้าตา และบุคลิกภาพของตนเอง พยายามหาสิ่งปรุงแต่งตั้งแต่ศีรษะ จรดเท้าทีเดียวเริ่มตั้งแต่ทรงผม มีการไว้ผมยาว ซอยผมสั้น ดัดให้หยิก ยืดให้ตรง (ถ้าหยิกอยู่แล้ว) รวมทั้งทรงผมลักษณะต่าง ๆ ตามชื่อที่เลือกสรรมา ตั้งแต่หงส์เหิน มาจนถึงพั๊งก์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 116 ธันวาคม 2531
    ในการถามเกี่ยวกับเรื่องการเจ็บป่วยส่วนตัว ถ้าจะให้ได้คำตอบที่ถูกต้อง ควรจะเล่าประวัติอาการ การตรวจรักษา การใช้ยา การแพ้ยา (ถ้าเคย) ผลการตรวจเลือด เอกซเรย์ (ถ้ามี) ให้ละเอียด และโปรดแจ้งชื่อ อายุ เพศ อาชีพ ที่อยู่ ให้ชัดเจน โปรดระบุแยกคำถามแต่ละโรค กรุณาอย่าถามคำถามรวมในฉบับเดียวกัน เช่น แยกโรคเกี่ยวกับกายภาพบำบัด ตา, สุขภาพของช่องปากเสียงดังในหูเกิดจากสาเหตุอะไร และอาการใด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 116 ธันวาคม 2531
    ลักษณะของเด็ก346. ลักษณะของเด็กอายุ 4-5 ขวบเด็กอายุ 4-5 ขวบเป็นวัยของนักสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ และการเป็นนักสร้างสรรค์นี้ช่วยพัฒนาสติปัญญา รวมทั้งสมรรถภาพทางกายของเด็กด้วย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 116 ธันวาคม 2531
    ใคร ๆ มักจะคิดกันว่า คนที่เป็นแพทย์นั้นคงจะมีสุขภาพดี ไม่มีการเจ็บไข้ได้ป่วย หรือถ้าเป็นก็คงไม่มากเหมือนคนธรรมดาทั่วไป แต่ในความเป็นจริงแล้ว แพทย์นั้นก็ไม่แตกต่างจากคนธรรมดาทั่วไป มีการเจ็บไข้ได้ป่วย เช่น ไข้หวัด เป็นโรคนั่นโรคนี่ หรือแม้กระทั่งล้มหมอน นอนเสื่อในบางครั้งบางคราวได้เช่นกัน ในประเทศไทยมีการวิจัยเก็บข้อมูลแล้วพบว่าแพทย์มีอายุเฉลี่ยสั้นกว่าคนธรรมดาทั่วไปด้วยซ้ำ คือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 116 ธันวาคม 2531
    ท่านที่ไม่เคยพบคำว่า “แพทย์แผนตะวันออก” (oriental traditional medicine) มาก่อน ก็คงสงสัยว่า ผู้เขียนก็คงเขียนชื่อเรื่องผิดไปหรือไม่ เพราะเรามักจะได้ยินหรือเห็น แต่แพทย์ตะวันตกหรือแพทย์แผนปัจจุบัน (western or modern medicine) หรือไม่ก็แพทย์แผนโบราณ ซึ่งเป็นแผนพื้นบ้าน (folk medicine) ของแต่ละประเทศการใช้คำว่า “แพทย์แผนโบราณ” มีส่วนทำให้คนส่วนใหญ่มองว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 116 ธันวาคม 2531
    คนไข้ในภาพนี้มีลักษณะอาการที่เด่นชัดคือหน้าอูมกลมเป็นวงพระจันทร์ แก้มแดง หน้าท้องลาย พุงป่อง มีก้อนไขมันที่ต้นคอและหัวไหล่ ขาลีบนี่คือลักษณะอาการของโรคชนิดหนึ่งที่เรียกว่า“โรคคุชชิ่ง "(Cushing’s syndrome) ส่วนมากเกิดจากการใช้ยาสเตียรอยด์ติดต่อกันนาน ๆ ยาสเตียรอยด์ที่รู้จักกันดี ได้แก่ เพร็ดนิโซโลน และเดกซาเมทาโซนโรคบางชนิด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 116 ธันวาคม 2531
    คอลัมน์นี้ได้รับความร่วมมือกับชมรมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย นับเป็นครั้งแรกที่เราจะนำความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ของโรคต่าง ๆ ในประเทศไทยลงตีพิมพ์ติดต่อกัน โดยจะครอบคลุมไปถึงลักษณะของโรคที่ควรรู้ในฤดูกาลต่าง ๆ กัน ตลอดจนวิธีการป้องกันโรคนั้น ๆ ด้วยโดยหวังว่าความรู้เหล่านี้จะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชุมชน เป็นการเสริมทรัพยากรระหว่างภาค ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 115 ธันวาคม 2531
    “ยาเหน็บทวารหนัก” ส่วนใหญ่เป็นตัวยาจำพวกครีมหรือขี้ผึ้ง ทำเป็นแท่ง บรรจุในวัสดุบางอย่าง เช่น กระดาษแก้ว หรือพลาสติก เวลาใช้ต้องแกะวัสดุ เหล่านี้ออกก่อนยาเหน็บทวารหนักเมื่อแกะแล้วจะลื่น และละลาย ดังนั้น ถ้าเหน็บไม่ดียาอาจเลื่อนหลุดออกมา ทำให้ได้รับตัวยาไม่ครบถ้วน และเปรอะเปื้อนยาเหน็บทวารหนัก สำหรับผู้ที่เป็น “ริดสีดวงทวารหนัก” จะช่วยลดการอักเสบ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 116 ธันวาคม 2531
    หมอชาวบ้านเล่มนี้ออกในช่วงวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประจำปี พ.ศ. 2531 คณะหมอชาวบ้านขอถวายพระพรให้ทรงพระเกษมสำราญและมีพระชนมายุยืนนาน ขอให้ความรักที่คนทั้งหลายมีต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจงเป็นเครื่องปลุกจิตสำนึกของตนเองให้ทำดีต่อกัน งดเว้นจาดมโนทุจริต วจีทุจริต และกายทุจริต มีการขวนขวายในกุศลมูล ลดละอหังการ ตั้งใจศึกษาให้เกิดปัญญาทั้งเรื่องภายในตนและเรื่องนอนนอกตน ...