บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 123 กรกฎาคม 2532
    ก่อนเกิด – หลังตายเมื่อวันเสาร์ที่ 13 สิงหาคม 2531 ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมป์ ได้จัดรายการอภิปรายเรื่อง “ตาย-เกิด” ขึ้นที่หอประชุมโรงพยาบาลสงฆ์ ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา นักวิทยาศาสตร์ผู้มีชื่อเสียงโด่งดัง ได้ให้เกียรติมาร่วมอภิปรายด้วย คำอภิปรายของท่าน ล้วนเป็นงานค้นคว้าวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีคุณค่าต่อการสนับสนุน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 123 กรกฎาคม 2532
    วิธีทำให้ข้อกระดูกเสื่อมช้าลงเมื่อก้าวเข้าสู่วัยกลางคน ก็มักจะเกิดปัญหาของข้อกระดูกหลังเสื่อม ตั้งแต่กระดูกช่วงคอ กระดูกช่วงอก จรดกระดูกบั้นเอว ตลอดจนข้อต่อของแขนขา สัญญาณที่ข้อต่อของกระดูกเริ่มเสื่อม คือ อาการปวดข้อซึ่งเริ่มปรากฏชัดขึ้นและบ่อยครั้งขึ้น การที่ข้อต่อเริ่มเสื่อมในอายุ 40 ปีขึ้นไปนั้น ความจริงเป็นกฎธรรมชาติเช่นเดียวกับสัจธรรมที่ตราบใดมีสิ่งมีชีวิต ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 123 กรกฎาคม 2532
    วิ่งภูมิศาสตร์การวิ่งจะเป็นการศึกษาภูมิศาสตร์ได้อย่างไร ผู้อ่านคงสงสัยอย่างมากที่เราได้จากการวิ่งคือศึกษาภูมิประเทศ เหมือนอย่างที่ผู้เขียนเคยวิ่งในสนามกอล์ฟ ทำให้รู้ว่าหลุมไหนแฟร์เวย์มีความเอียงลาดเทมากน้อยเพียงไร ซึ่งปกติถ้าเดินจะดูไม่ค่อยออก แต่พอวิ่งตรงไหนขึ้นเขา ลงเขา บอกได้ชัดเจน เป็นประโยชน์แก่การเล่นกอล์ฟแต่ที่เราจะคุยกันในวันนี้ไม่ใช่เรื่องของการศึกษาภูมิประเทศ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 122 มิถุนายน 2532
    ขณะที่เขียนถึงผู้อ่านฉบับนี้เป็นเวลาเช้ามืดของวันที่ 19 พฤษภาคม 2532 อันเป็นวันวิสาขบูชา อันตรงกับวันประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า บุรุษเอกของโลก เวลาสองพันกว่าปีนี้ถ้านับตามความรู้สึกของเราก็นับว่านานมาก แต่ถ้าเทียบกับเวลาของจักรวาลก็สั้นนิดเดียวไม่ถึงวินาที หรือแม้เทียบกับประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติซึ่งปรากฏบนโลกนี้ 1-2 ล้านปี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 122 มิถุนายน 2532
    เมื่อวันที่ 25 เมษายนที่ผ่านมานี้ คณะกรรมการควบคุมการบริโภคยาสูบแห่งชาติ ซึ่งมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข นายชวน หลีกภัย เป็นประธานได้จัดประชุมขึ้นเป็นครั้งแรก ซึ่งมีมติอันเป็นประโยชน์ต่อการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่หลายประการ ดังคำให้สัมภาษณ์ของนายแพทย์หทัย ชิตานนท์ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเป็นเลขานุการคณะกรรมการชุดนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 122 มิถุนายน 2532
    อันตราย...ห้ามใช้บอแรกซ์ในอาหารบอแรกซ์เป็นวัตถุที่ทางราชการห้ามใช้ในอาหาร เพราะจะมีอันตรายต่อผู้บริโภค หากพบมีการใช้บอแรกซ์ในอาหารก็จะดำเนินการตามกฎหมายแก่ผู้ผลิตทันทีนายแพทย์ประชา เอมอมร เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กล่าวว่า ปกติแล้วบอแรกซ์จะใช้ในอุตสาหกรรมทำแก้ว เชื่อมทองเส้น แต่กลับมีผู้ผลิตอาหารบางรายเข้าใจผิด นำไปผสมในอาหารต่างๆ เช่น ลูกชิ้น หมูยอ ไส้กรอก ทับทิมกรอบ เป็นต้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 122 มิถุนายน 2532
    ครอบครัวมีปัญหาส่งผลต่อลูก แต่เด็กเองชนะได้กรรมพันธุ์เป็นปัจจัยสำคัญในการถ่ายทอดลักษณะต่างๆ จากพ่อแม่สู่ลูกหลาน ในขณะที่ความโศกเศร้าสิ้นหวังของพ่อแม่ก็สามารถทำลายพัฒนาการทางจิตใจของลูกหลานได้เช่นเดียวกันความซึมเศร้าสามารถถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูกได้เช่นเดียวกับลักษณะเฉพาะอื่นๆ เช่น ตาสีดำ หรือตาสีฟ้า เป็นต้น กรรมพันธุ์เป็นปัจจัยสำคัญในการถ่ายทอดลักษณะต่างๆ จากพ่อแม่สู่ลูกหลาน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 122 มิถุนายน 2532
    พบอันตรายจากแป้งที่ถุงมือผ่าตัดเพิ่มสูงขึ้นมีรายงานเกี่ยวกับตุ่มเล็กๆ เนื่องจากแป้งเกิดขึ้นภายหลังการทำศัลยกรรมกระดูก ช่องอก ตา หู คอ และจมูก ปัจจุบันมีคดีฟ้องร้องแพทย์ในกรณีเหล่านี้จำนวน 15 ราย ในสหรัฐอเมริกาและออสเตรเลีย ผู้เชี่ยวชาญเชื่อว่าจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับความทุกข์ทรมานจากอาการแทรกซ้อน อันเนื่องมาจากแป้งที่โรยในถุงมือยางจะเพิ่มมากขึ้นทุกที ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 122 มิถุนายน 2532
    บาดเจ็บจากปืน – โรคระบาดชนิดใหม่ของเด็กเด็กที่ได้รับบาดเจ็บจากอาวุธปืน ไม่ได้เกิดเฉพาะแต่ตัวเด็กที่บาดเจ็บเท่านั้น แต่ยังทำความเดือดร้อนไปถึงครอบครัวและสังคม และหากเกิดความพิการขึ้นแล้ว ปัญหาทางกายและจิตใจอันเนื่องจากความพิการนั้นก็จะเกิดตามมาผลกระทบจากการที่เด็กที่ได้รับบาดเจ็บจากอาวุธปืน ไม่ได้เกิดเฉพาะแต่ตัวเด็กที่บาดเจ็บเท่านั้น แต่ยังทำความเดือดร้อนไปถึงครอบครัวและสังคม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 122 มิถุนายน 2532
    แพ้ยา“คุณป้าครับ หมอตรวจดูแล้วคุณป้าไม่ได้เป็นอะไรมาก หมอจะจ่ายยาให้กลับไปกินที่บ้าน ไม่ทราบว่าคุณป้าเคยแพ้ยาอะไรหรือเปล่าครับ?” หมอถามให้แน่ใจ หากผู้ป่วยแพ้ยา จะได้หลีกเลี่ยงไม่จ่ายซ้ำ ทำให้เกิดอันตรายได้คุณป้าคิดอยู่ครู่หนึ่ง แล้วตอบว่า “ป้าเคยมีอาการแพ้ยาอยู่เหมือนกัน”“คุณป้าแพ้ยาอะไร ทราบไหมครับ?” หมอถาม“ดูเหมือนจะเป็นยาแก้ปวดอย่างซองๆ เวลาปวดหัว ...