บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 185 กันยายน 2537
    กลาก – โรคเชื้อราของผิวหนังข้อน่ารู้1. โรคผิวหนังที่เกิดจากการติดเชื้อรามีอยู่หลายชนิด ซึ่งมีสาเหตุและอาการต่างกัน ที่พบบ่อยได้แก่ กลากและเกลื้อน2. กลาก (ring worm หรือ tinea) เกิดจากเชื้อรากลุ่มเดอร์มาโตไฟต์ ซึ่งชอบเจริญอยู่เฉพาะในผิวหนังชั้นนอกสุด รวมทั้งเส้นผมและเล็บ โรคนี้สามารถติดต่อได้ง่าย (ตรงข้ามกับเกลื้อนซึ่งติดต่อยาก) โดยการสัมผัสกับคนไข้โดยตรง หรือใช้ของร่วมกับคนไข้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 185 กันยายน 2537
    ดัดตน แก้ลมเอวขัดเมื่อวันพุธที่3 นี้มีคนไข้ปวดเอวมาใช้บริการนวดที่ร้าน เขาบอกว่าปกติแล้วไม่เคยปวดเอวเลย เขาเพิ่งมามีอาการปวดเอวหลังจากที่ไปนวดกับหมอนวดตามสถานบริการที่มีผู้หญิงล้วนแห่งหนึ่งมาเขาเล่าต่อว่าหมอนวดคนนั้นให้เขานอนคว่ำแล้วขึ้นไปเหยียบบนหลังพักใหญ่ เมื่อเหยียบเสร็จแล้วก็ถึงท่าดัด หมอนวดคนนั้นดัดเขาด้วยท่าสะพานโค้ง(ท่าสะพานโค้งคือ คนถูกดัดจะนั่งเหยียดขาอยู่ด้านหน้า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    ความรักของแม่ มหาพลังทางสังคมสังคมทั่วโลกเคลื่อนไหวด้วยความเร็วสูง ทำให้มนุษย์มีสภาพเหมือนหนูที่วิ่งบนสายพานที่เคลื่อนที่เร็ว ทุกตัวเหนื่อย บางตัวตายไปเพราะหมดแรง บางตัวตายไปเพราะอุบัติเหตุถ้ามองให้ละเอียดมีวิกฤติการณ์ทางสังคมอยู่ทั่วไป ที่เป็นอย่างนี้เพราะความหลงผิดที่เอาเศรษฐกิจเป็นเอกพลังในการขับเคลื่อนสังคม ซึ่งเท่ากับใช้โลภจริตเป็นเชื้อเพลิง เศรษฐกิจมีความสำคัญ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    ภาวะมีบุตรยากและการแก้ไขภาวการณ์มีบุตรยากเป็นปัญหาที่สำคัญอย่างหนึ่งของชีวิตสมรส คู่สามีภรรยาที่สมรสมาเป็นระยะเวลาหนึ่งแล้วยังไม่มีบุตร จะมีความรู้สึกว่าชีวิตสมรสไม่สมบูรณ์ เนื่องจากขาดสิ่งผูกพันยึดเหนี่ยวระหว่างกันและไม่มีอะไรแปลกใหม่เกิดขึ้นในชีวิตสมรส ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    ส้นเท้าแตกผู้ถาม ยุวดี/นครราชสีมาดิฉันมีอาการเกี่ยวกับส้นเท้าแตก อยากทราบว่าเกิดจากสาเหตุอะไร มีวิธีแก้ไขและป้องกันอย่างไร ซึ่งขณะนี้คุณพ่อและคุณแม่ของดิฉันก็มีอาการส้นเท้าแตกมาก เดินไม่ค่อยสะดวกค่ะส้นเท้าแตก ไม่ทราบเกิดจากสาเหตุใด มีวิธีแก้ไขอย่างไร และป้องกันได้อย่างไรผู้ตอบ นพ.วินัย วุตติวิโรจน์อาการส้นเท้าแตกบางครั้งเป็นเรื่องของกรรมพันธุ์ คือถ้าพ่อแม่เป็นลูกหลานก็มักจะมีปัญหาตามมาด้วย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    น้ำปลาและน้ำเกลือปรุงรสถ้าจะกล่าวว่าน้ำปลาเป็นเครื่องปรุงรสที่ขาดไม่ได้ในครัวไทยก็คงไม่ผิดนัก เพราะคนไทยส่วนใหญ่โดยเฉพาะในภาคกลางได้นิยมใช้เครื่องปรุงรสชนิดนี้มานานแล้วอย่างไรก็ตาม เราคงจะอ้างว่าน้ำปลาเป็นเครื่องปรุงรสประชำชาติไทยไม่ได้สนิทปากนัก เพราะหลายประเทศในภูมิภาคนี้ เช่น เวียดนาม ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย กัมพูชา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    การเลือกซื้อ “อาหารกระป๋อง”ปัจจุบันอาหารกระป๋องเป็นที่แพร่หลายในท้องตลาด และซูเปอร์มาร์เก็ตทั่วไป ซึ่งมีหลายคนและหลายครอบครัวให้ความนิยมในการบริโภค แต่คุณทราบหรือไม่ว่าอาหารที่คุณบริโภคอยู่นั้นมีความปลอดภัยแค่ไหน ฉะนั้นการเลือกซื้ออาหารกระป๋องในแต่ละครั้งจึงมีความจำเป็นไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าการเลือกซื้ออาหารอื่นๆ หลักการเลือกซื้ออาหารกระป๋องมีดังนี้1. ดูลักษณะกระป๋อง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    มะกรูด : ข้างนอกขรุขระ ข้างในต๊ะติ๊งโหน่ง“ใครมีมะกรูด มาแลกมะนาวใครมีลูกสาว มาแลกลูกเขย...”เนื้อเพลงที่ยกมาข้างต้นนี้ ผู้อ่านส่วนใหญ่คงจำได้ว่ามาจากเพลงกลองยาวซึ่งใช้เป็นบทสร้อยของเพลง นิยมขับร้องกันในบริเวณภาคกลางของประเทศไทยการที่ผู้แต่งเนื้อร้องเพลงนี้เลือกเอามะกรูดและมะนาวมาเปรียบเทียบกับลูกสาวและลูกเขย นับว่าเหมาะสมอย่างยิ่ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    ดัดตน แก้คอไหล่ปวดเมื่อประมาณสามเดือนที่แล้ว มีคนมานวดที่ร้านของผม และมีอยู่คนหนึ่งบอกผมว่าปวดไหล่และคอมานานแล้ว ผมถามเขาว่าชอบนอนตะแคงข้างเป็นประจำและหนุนหมอนเตี้ยใช่มั้ย เขาตอบว่าใช่ ผมลองให้เขายกแขนดู เขาบอกว่าเวลายกแขนยิ่งปวด ผมเลยให้คนตาบอดนวดให้เขาทั้งตัวก่อน ใช้เวลาประมาณสองชั่วโมง เสร็จแล้วเขาบอกว่าเขาหายปวดเมื่อยตามเนื้อตามตัวหมดแล้ว ยังเหลืออยู่ที่คอและไหล่เท่านั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    ต้อ4 จำพวก“คุณหมอครับ โรคต้อมีทั้งหมดกี่ชนิดด้วยกันครับ”คุณลุงเอ่ยขึ้น “ที่สงสัยก็เพราะว่าเมื่อเดือนก่อนลุงมีอาการตามัว ไปให้หมอตรวจ หมอบอกว่าเป็นโรคต้อกระจก แต่คุณป้าข้างบ้านผมเมื่อสัปดาห์ก่อนไปหาหมอด้วยอาการตามัวแบบผม หมอบอกว่าเป็นโรคต้อหิน โรคต้อทั้ง 2 ชนิดนี้เหมือนกันหรือต่างกันอย่างไรครับ”“แหม คุณลุงเล่นถามทีเดียวหลายข้อแบบนี้ ...