บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 18 ตุลาคม 2523
    หญ้าคา “สมุนไพรที่นำเสนอนี้ ผู้เขียนได้แปลและเรียบเรียงจากหนังสือ “พจนานุกรมสมุนไพรจีน” ของประเทศจีน ขนาดน้ำหนักของสมุนไพรที่ใช้นี้แปลและคิดคำนวณมาจากที่จีนบันทึกไว้ ซึ่งเป็นขนาดที่ใช้ในผู้ใหญ่ ดังนั้นเวลานำมาใช้ต้องดัดแปลงน้ำหนักของยาให้เหมาะสมกับอายุ น้ำหนักและสุขภาพของผู้ใช้ด้วย หญ้าคา ⇒ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 18 ตุลาคม 2523
    ความรู้เรื่องเห็ดแบบชาวบ้าน “เห็ด” ในประเทศไทยมีมากมายหลายชนิด บางอย่างมีรูปร่างสีสดงดงาม แต่ใช้เป็นอาหารไม่ได้ เพราะมีสารพิษที่ทำให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย ความรู้รอบตัวแบบชาวบ้านนั้น บางครั้งก็มีประโยชน์อย่างมาก เพราะไม่อาจค้นหาจากตำราได้ในบรรดาพืชพันธุ์ไม้ที่มีอยู่ตามธรรมชาติทุกหนทุกแห่งในโลกนี้ มีทั้งประโยชน์และโทษต่อชีวิตมนุษย์ “เห็ด” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 18 ตุลาคม 2523
    สมอง สมองของเรามีความสลับซับซ้อนมาก มีคนพยายามที่จะคิดคอมพิวเตอร์มาใช้แทนสมองของคน ซึ่งสามารถทำงานได้เร็วกว่าคนหลายพันเท่า ขณะที่สมองของคนไม่อาจจะเก็บรวบรวมข้อมูลได้มากมายเช่นนั้น อย่างไรก็ตาม สมองของคนก็มีความมหัศจรรย์สามารถมีความรู้สึก อารมณ์ต่าง ๆ ตอบสนองความต้องการของเราซึ่งไม่เหมือนกับหุ่นยนต์คอมพิวเตอร์ความมหัศจรรย์ของสมองก็คือ สามารถแสดงออกถึงการกระทำต่าง ๆ อย่างละเอียดอ่อน และความคิด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 18 ตุลาคม 2523
    การตรวจร่างกาย (ตอนที่ 12 )ข. การตรวจสิ่งแสดงชีพ นอกจากการตรวจชีพจรและการหายใจ ดังที่ได้กล่าวถึงในฉบับก่อน ๆ แล้ว การตรวจสิ่งแสดงชีพยังหมายถึง การตรวจ3. ความร้อนเย็น (อุณหภูมิ) ของร่างกาย (body temperture): การตรวจความร้อนเย็นของร่างกายอาจจะทำได้ง่ายๆ โดยใช้ฝ่ามือหรือหลังมือไปแตะที่หน้าผาก ซอกคอหรือรักแร้ของคนไข้ หรือใช้หลังมือไปสัมผัสกับลมหายใจออกใกล้ๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 18 ตุลาคม 2523
    ตาแดงเป็นปื้นอาการของโรคไอกรน โรคตาแดง ตาฟกช้ำลุงคำพาหลานชายอายุ 6 ปี ชื่อ หนูเขียว ไปหาหมอ ลุงคำเล่าให้หมอฟังว่า “ไอ้เขียวมันเป็นโรคอะไรก็ไม่รู้ ตอนกลางวันก็เห็นมันเล่นหัวได้เหมือนคนดีๆ แต่พอตกกลางคืน มันไอได้ไอดี ไอทีติดต่อกันนานจนตัวงอ และหายใจแทบไม่ทันเชียวหละ ส่วนมากจะอาเจียนมีเสลดเหนียวๆ ออกมาด้วย เวลาไอเสร็จมันจะหายใจเข้าเสียงดังวู้บ มันไอมาหลายคืนแล้ว ซื้อยาแก้ไอให้กินก็ไม่ดีขึ้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 18 ตุลาคม 2523
    เด็กสองเดือนถึงสามเดือน สภาพแวดล้อม88. ป้องกันอุบัติเหตุอุบัติเหตุที่เกิดบ่อยที่สุดในช่วงอายุ 2-3 เดือน คือ ตกเตียง เพราะคุณแม่เห็นว่าลูกยังพลิกตัวเองไม่ได้ คลานก็ยังไม่ได้ จึงไม่เอาที่กั้นเตียงขึ้น แต่บางครั้งเด็กมีแรงถีบมาก จนถึงกับทำให้ลื่นตกเตียงได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 18 ตุลาคม 2523
    เมื่อศีรษะได้รับบาดเจ็บมารดาอายุสัก 26-27 ปีอุ้มลูกสาวอายุไม่เกิน 4 ขวบเข้ามาในห้องตรวจโรคหน้าตาบอกถึงความไม่สบายใจ“แกตกจากโต๊ะเมื่อคืนนี้ค่ะ ปีนขึ้นไปหยิบของในตู้แล้วหงายหลังตกลงมา” แม่พูดเสียงสะอื้นอยู่ในคอ“แกร้องจนตัวเขียวเลยค่ะ” แม่พูดต่อ เมื่อเห็นว่าหมอยิ้มๆ ยังไม่ว่าอะไร เพียงแต่คลำที่ศีรษะและจับไม้ของเด็กยกขึ้นยกลง“เจ็บตรงไหนครับ ตรงนี้ใช่ไหมครับ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 18 ตุลาคม 2523
    การสำรวจการใช้ยาแผนโบราณของประชากรไทยทั่วประเทศคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และสำนักงานสถิติแห่งชาติ โดยทุนอุดหนุนจากธนาคารโลก ได้ทำการสัมภาษณ์โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างจากประชาชนทั่วประเทศ ระหว่างเดือนพฤศจิกายน ถึง ธันวาคม พ.ศ.2522 เกี่ยวกับการใช้ยาแผนโบราณและสมุนไพร เมื่อมีอาการเจ็บป่วยไข้เกิดขึ้น ใน 50 จังหวัดของประเทศไทย ได้ผลดังต่อไปนี้คือ1. จำนวนครัวเรือนที่ทำการสัมภาษณ์ใน 4 ภาค ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 18 ตุลาคม 2523
    กระดูกหัก ( ตอนที่ 3 )ฉบับที่ 16 เราพูดถึงการจัดกระดูกให้เข้าที่ ฉบับนี้มาพูดถึงการตรึงกระดูกให้อยู่กับที่ เพื่อส่งเสริมให้รอยหักติดในตำแหน่งที่ต้องการ และในเวลาที่พอสมควรด้วย⇒ กระดูกหักจะตรึงให้อยู่กับที่ได้อย่างไร?วิธีที่ใช้กันทั่วไป แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด คือ1. การตรึงกระดูกโดยทางอ้อมหรือจากภายนอก ได้แก่ การใช้วัสดุแข็งดาม โดยวัสดุไมได้ยึดกับตัวกระดูกโดยตรง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 17 กันยายน 2523
    คุยกับผู้อ่าน พระบรมสาทิสลักษณ์ของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร์ อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระบิดาแห่งวงการแพทย์ไทย (ประดิษฐานในห้องประชุมคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล ...