บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 90 ตุลาคม 2529
    สุนัขกัดบ้านเราเป็นเมืองพุทธ จึงปรากฏว่าทุกวันนี้มีสุนัขแล้วแมวทั้งที่มีเจ้าของและไม่มีเจ้าของเป็นส่วนมาก และยังมีประชาชนอีกจำนวนไม่น้อยที่ทราบว่า แมวก็เป็นโรค “พิษสุนัขบ้า”โรคพิษสุนัขบ้า เรือเรียกง่ายๆว่า โรคหมาบ้านั้น ความจริงแล้วยังมีสัตว์ที่เป็นโรคเดียวกันได้อีก คือ กระรอก กระแต และค้างคาว สำหรับกระรอกและกระแตมีผู้นิยมเลี้ยงกันมากขึ้น เนื่องจากมีความน่ารัก เลี้ยงง่าย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 90 ตุลาคม 2529
    ตอนที่ 2( น้ำพริกมื้อเย็น )หลังจากพูดคุยอยู่กับเจ้าของบ้านผู้อารีแล้ว ก็ขออนุญาตเดินชมต้นไม้รอบๆบ้าน ซึ่งก็ได้รับความกรุณา และท่านเจ้าของบ้านก็พาเดินชมไปด้วย พร้อมกันนั้นก็ได้อธิบายถึงคุณประโยชน์ต่างๆของต้นไม้ที่ได้หามาปลูกเองบ้าง บางต้นก็ขึ้นเองตามธรรมชาติก้าวแรกที่ได้เหยียบพื้นดินด้านซ้ายมือก็พบเข้าแล้ว ต้นมะลิ ซึ่งนอกจากดอกให้กลิ่นหอมแล้ว ยังนำไปบูชาพระได้อีก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 90 ตุลาคม 2529
    มันฝรั่ง – อาหารหลักของชาวยุโรป⇒ มันฝรั่งมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Solanum tuberosum Linn. วงศ์ Solanaceae แหล่งกำเนิดของมันฝรั่งคือประเทศเปรู ได้มีการขุดพบเครื่องใช้ที่มีรูปร่างคล้ายมันฝรั่ง ซึ่งสันนิษฐานว่า ทำขึ้นประมาณ 200 กว่าปีก่อนคริสต์ศักราช (2,200 ปีมาแล้ว) จากหลักฐานดังกล่าว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 90 ตุลาคม 2529
    แอมพิซิลลิน/อะมอกซีซิลลินยาแอมพิซิลลิน และ อะมอกซีซิลลิน 2 ชนิดนี้ เป็นยาปฏิชีวนะกลุ่มเดียวกับเพนิซิลลิน แต่ได้รับการดัดแปลงสูตรโครงสร้าง ทำให้มีฤทธิ์ทำลายเชื้อแบคทีเรียกว้างขวางกว่าเพนิซิลลิน⇒แอมพิซิลลินแพทย์นิยมใช้แอมพิซิลลินเพื่อรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียของระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบทางเดินหายใจ ระบบทางเดินอาหาร โรคช่องหูส่วนกลางติดเชื้อ โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ โรค 2 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 90 ตุลาคม 2529
    วัคซีน / เซรุ่ม“เมื่อลูกของคุณอายุได้สองเดือน ควรพาไปฉีดวัคซีนป้องกันโรคไอกรน คอตีบ บาดทะยัก”“เมื่อถูกตะปูตำ ถ้ายังไม่ฉีดวัคซีนมาก่อน ควรรักษาด้วยเซรุ่มกันบาดทะยัก”คุณผู้อ่านอาจคุ้นหูกับคำแนะนำเหล่านี้กันมาบ้างแล้ว แต่บางครั้งก็อาจรู้สึกสับสนกับความหมายของคำว่า “วัคซีน” และ “เซรุ่ม” กันบ้างก็ได้ฉบับนี้เรามาคุยกันถึงคำ 2 คำนี้ ดีไหมครับ!วัคซีน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 90 ตุลาคม 2529
    โรคภูมิแพ้ทางผิวหนังหลังจากที่คุณได้รู้จักกับ “โรคภูมิแพ้ทางเดินหายใจ” ในฉบับก่อนไปแล้วนั้น คงจะได้รับความรู้ ความเข้าใจ กระจ่างมากขึ้นกว่าเดิมนะคะและสำหรับคอลัมน์โรคน่ารู้ฉบับนี้ เราจะพูดถึง “โรคภูมิแพ้ทางผิวหนัง” ต่อเนื่องกันไปให้ครบถ้วนสุภาพสตรีคนหนึ่งลองซื้อเครื่องสำอางยี่ห้อใหม่มาใช้ ได้ฟังโฆษณากรอกหูอยู่ทุกวันว่า ใช้แล้วจะทำให้หน้าตาผิวพรรณผุดผ่อง มองดูอ่อนกว่าวัย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 90 ตุลาคม 2529
    กระดูกของเรา⇒ชายและหญิงมีจำนวนกระดูกเท่ากันประมาณ 206 ชิ้นแต่โดยทั่วๆไปกระดูกของชายจะใหญ่และหนักกว่ากระดูกของหญิง⇒อุ้งเชิงกรานของหญิงจะกว้างกว่าของชาย ซึ่งมีไว้ให้เหมาะกับการตั้งครรภ์และการคลอดบุตรเราจึงเห็นส่วนตะโพกของหญิงกว้างกว่าชาย⇒กระดูกไหปลาร้าหญิงมีลักษณะโค้งสั้นกว่าชาย เราจึงเห็นช่วงไหล่ของหญิงแคบกว่าของชาย
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 90 ตุลาคม 2529
    การตรวจรักษาอาการเจ็บอก (ต่อ)คนไข้เจ็บอกที่มีอาการเจ็บหนักหรือฉุกเฉิน เมื่อได้รับการปฐมพยาบาลและการรักษาขั้นต้นจนอาการดีขึ้นพอที่จะเคลื่อนย้ายคนไข้ไปที่โรงพยาบาลแล้ว ควรจะรีบส่งคนไข้ไปโรงพยาบาลสำหรับคนไข้ที่มีอาการเจ็บ ปวด แสบ แน่น หรืออื่นๆ ที่บริเวณอก แต่ไม่มีอาการเจ็บหนัก หรือฉุกเฉิน อาจจะให้การตรวจรักษาเป็นขั้นตอน ตามแผนภูมิที่ 1 คือให้ถามคนไข้ว่า อาการเจ็บอกนั้น กดเจ็บไหม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 89 กันยายน 2529
    สัมมาพัฒนาคุณหมอสุรเกียรติ อาชานานุภาพ บรรณาธิการบริหารของ “หมอชาวบ้าน” เพิ่งร่วมเดินทางไปร่วมประชุมที่เมืองฮิโรชิมา ญี่ปุ่น เนื่องในวันที่ 6 สิงหาคม ร่วมคณะกับคุณบุญยงค์ ว่องวานิช นายกพุทธิกสมาคม ซึ่งเป็นผู้ประสานงาน โดยได้อาราธนาพระพุทธิวงศ์มุนี เจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตร กรรมการมหาเถรสมาคม พระธรรมชัยโยภิกขุ เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย และเชิญ พลตรีจำลอง ศรีเมือง ผู้ว่าราชการกทม. ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 89 กันยายน 2529
    อังกฤษห้ามใช้แอสไพรินในเด็กอายุต่ำกว่า 12 ปีจากการศึกษาพบว่า เด็กอายุต่ำกว่า 12 ปีที่มีอาการของโรคเรย์ซินโดรม มีความสัมพันธ์กับการใช้ยาแอสไพรินในเด็ก *********************************************************************************************เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2529 นี้ คณะกรรมการติดตามความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้ยาแห่งอังกฤษ ได้ส่งจดหมายถึงเภสัชกร แพทย์และบุคลากรสาธารณสุขต่างๆ ...