บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 219 กรกฎาคม 2540
    ฮอร์โมนเพิ่มความสูงมีจริงหรือปัจจุบันคนส่วนใหญ่มีค่านิยมเรื่องความสูง คือ สูงดีกว่าเตี้ย ส่วนมากต้องการให้ลูกชายสูงขึ้นประมาณ ๖ ฟุต หรือ ๑๘๐ เซนติเมตร โดยเปรียบเทียบกับพระเอกในภาพยนตร์ซึ่งส่วนใหญ่เห็นว่าสูงแล้วดูสง่างามมีอำนาจ และมีลักษณะผู้นำส่วนลูกสาวควรสูงประมาณ ๑๗๐ เซนติเมตรขึ้นไป ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 219 กรกฎาคม 2540
    โรคพาร์กินสัน-โรคสั่นสันนิบาตโรคพาร์กินสัน คือโรคอะไรในอดีตคนไทยน้อยคนที่จะรู้จักโรคนี้ ในยุคปัจจุบัน (พ.ศ.๒๕๔๐) คนไทยมีอายุเฉลี่ยยืนยาวกว่าเดิมมาก คือ ผู้ชายอายุเฉลี่ยถึง ๖๗.๔ ปี ส่วนผู้หญิงอายุเฉลี่ย ๗๑.๗ ปี (อดีตคนไทยเราอายุเฉลี่ยเพียง ๔๕ ปี) ดังนั้นโรคในผู้สูงอายุจึงพบบ่อยขึ้นมากในคนไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคทางระบบประสาทที่มีชื่อเรียกว่า โรคพาร์กินสัน (Parkinson’s disease) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 219 กรกฎาคม 2540
    เรื่อง “เหน็บชา”พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ให้ความหมายของคำว่า “เหน็บชา” ว่าเป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคชนิดหนึ่ง ทำให้รู้สึกชาตามเนื้อตัว และให้ความหมายของคำว่า “ชา” ว่าเป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่อวัยวะเป็นเหน็บ เช่น มือชา เท้าชา จะเห็นว่า คำหลายคำในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานจะอยู่ในลักษณะเช่นนี้ จนทำให้ไม่ทราบความหมายที่แท้จริงของคำนั้นในที่นี้ คำว่า “เหน็บชา” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 219 กรกฎาคม 2540
    อาหารกับการเกิดโรค“อาหารคือชีวิต ชีวิตทุก ๆชีวิตย่อมเจริญเติบโตวิวัฒนาการขึ้นได้ และถึงจุดอวสานคือหมดสภาพไปก็เพราะอาหารการแพทย์ไทยรับสัจธรรมจากพระพุทธศาสนาบ่งชี้ถึงอาหารเป็นหลักสำคัญของชีวิต”เมื่อพูดถึงอาหาร เราๆท่านๆมักนึกถึง ข้าว กับข้าว ก๋วยเตี๋ยว หรือของกินต่างๆ แต่ในทางการแพทย์ไทยนั้นถือตามแนวพุทธว่า สิ่งที่เข้ามาสัมผัส หู ตา จมูก ลิ้น กายและใจ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 219 กรกฎาคม 2540
    บวมทั่วไปมีอาการเท้าบวมทั้ง ๒ ข้าง ใช้นิ้วกดที่หน้าแข้งจะมีรอยบุ๋มอยู่นาน บางคนอาจมีหน้า และท้องบวมร่วมด้วย
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 219 กรกฎาคม 2540
    นาฬิกาชีวิต : พลังชีวิต(ลมปราณ)ฉบับที่แล้วผู้เขียนได้กล่าวถึง การแพทย์จีนถือว่ากลางวันและกลางคืนมีความสัมพันธ์กับสุขภาพของมนุษย์อย่างแยกไม่ออก ครั้งนี้จึงขอกล่าวเพิ่มเติมว่า การแพทย์จีนยังมองลึกลงไปอีกว่า ช่วงเวลา ๒๔ ชั่วโมงใน ๑ วันนั้น ภายในร่างกายของมนุษย์ยังมีการไหลเวียนของพลังชีวิต (ลมปราณ) ที่ผ่านมาอวัยวะภายในของร่างกาย จีนเรียกว่า “จั้ง-ฝู่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 219 กรกฎาคม 2540
    ดัดตนแก้ลมในสะโพกและต้นขาทั้งสองปวดสะโพกเป็นกันมากในหมู่นักสวิงกอล์ฟและผู้สูงอายุที่ชอบนั่งสมาธินานๆ ผมมักจะถูกลูกศิษย์เรียกให้ไปดูผู้ป่วยบ่อยๆ พอผมซักถามอาการของเขาแล้วเขามักบอกว่าปวดสะโพกจากสาเหตุที่ผมเขียนไว้ข้างต้น ผมจะบอกหมอนวด (คนตาบอด) ลูกศิษย์ไม่ให้นวดท่านอนคว่ำ เพราะจะทำให้อาการที่เป็นอยู่แล้วหนักกว่าเดิม มีหมอนวดหลายท่านหรือผู้ที่มาให้นวดมักจะชอบนอนคว่ำให้หมอนวดทำการนวดหลังแรงๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 219 กรกฎาคม 2540
    น้ำกัดหรือเชื้อรากัดเท้ากันแน่เมืองเรามีน้ำท่วมทุกปี มักท่วมหนัก นานและขยายบริเวณกว้างไปจนเกือบทั่วประเทศ ก่อให้เกิดความเดือดร้อนกันทั่วหน้า เกิดปัญหาตามมามากจริงๆ ตั้งแต่ที่อยู่อาศัย อาหารการกิน และโรคที่มากับน้ำ โดยเฉพาะโรคผิวหนัง ยิ่งน้ำท่วมนานก็ยิ่งมีปัญหามาก เกิดโรคเท้าเปื่อย แผลพุพอง เชื้อหนอง เชื้อรา เชื้อพยาธิ จะติดตามมากันใหญ่ ประชาชนรู้จักเรื่องโรคผิวหนังที่มากับน้ำท่วมกันดี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 219 กรกฎาคม 2540
    ภาวะเจ็บป่วยในระหว่างตั้งครรภ์โรคอีสุกอีใส___________________________________________________________________คำถาม : ลูกของฉันได้รับเชื้อโดยการสัมผัสโรคอีสุกอีใสจากเพื่อนในศูนย์เลี้ยงเด็กกลางวัน ถ้าเด็กมีอาการของโรค จะมีอันตรายต่อการตั้งครรภ์ไหมคะ?การติดเชื้อของทารกในครรภ์จะไม่ติดจากบุคคลที่สาม การรับเชื้อโรคติดต่อใดๆ จะรับโดยตรงจากมารดา หญิงตั้งครรภ์ส่วนมากมักจะเคยเป็นอีสุกอีใสในวัยเด็กมาก่อน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 219 กรกฎาคม 2540
    การศึกษาเพื่อพัฒนาสติปัญญาและจิตสำนึกของเด็กครั้งที่แล้วได้พยายามถ่ายทอดคำบรรยายของ Dr.Joseph Chilton Pearce ในหัวข้อ “Education for Higher Stages of Consciousness” คือ หัวข้อภาษาไทยข้างบนอย่างกระท่อนกระแท่น ฉบับนี้ก็ต้องรายงานต่อแบบขาดๆ แหว่งๆ เหมือนเดิม คราวนี้ไม่ใช่เพราะฟังไม่ค่อยรู้เรื่อง แต่เป็นเพราะมีวิทยุติดตามตัวเรียกบ่อย จึงต้องออกไปโทรศัพท์นอกห้องประชุมหลายช่วง ...