บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 311 มีนาคม 2548
    เดี๋ยวนี้ใครๆ ก็พากันพูดถึงเรื่อง สารต้านอนุมูลอิสระ หรือแอนติออกซิเดนต์(antioxidant) กันว่า เป็นสิ่งวิเศษช่วยป้องกันโรคสารพัดชนิด อาจกลายเป็นยาผีบอกแบบสมัยโบราณไปก็ได้ ลองมาทำความรู้จักกับเจ้าตัวนี้ และผู้บริโภคได้ประโยชน์จากสารตัวนี้อย่างไร ในรายงานของเครือข่าย "เฮน (Health Evidence Network-HEN)" ซึ่งเป็นเครือข่ายภายในองค์การอนามัยโลก ภาคพื้นยุโรป ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 311 มีนาคม 2548
    การเล่นเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับเด็ก"การเล่นเป็นกระบวนการที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่งของพัฒนาการในวัยเด็ก ผู้ใหญ่ต้อง เข้าใจและเห็นคุณค่าการเล่นของเด็ก"Ž การเล่นที่ให้ความสนุกสนาน เพลิดเพลิน กระตุ้นการเรียนรู้ ค้นคว้า ท้าทาย จะเป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์อย่างมากสำหรับเด็ก กระตุ้นให้เด็กมีพฤติกรรมรักการเรียนรู้ด้วยตนเอง การแสวงหาประสบการณ์ใหม่ การค้นคว้า ทดลอง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 311 มีนาคม 2548
    วันหนึ่งมีคนมาพบผม โดยนัดกับเลขาหน้าห้องผมไว้ เป็นประชาชนคนหนึ่ง ขอเอ่ยนามท่านผู้นั้นชื่อคุณเกียรติ ภัทรกุล ทำอาชีพค้าขายส่วนตัว จบปริญญาจากมหาวิทยาลัย ท่านอ่านหนังสือผมเรื่องที่ผมเขียน ท่านคิดอะไรดีๆ จึงอยากจะสื่อสารให้คนอื่นทราบ ท่านบอกว่าน้ำเกลือเข้มข้น สามารถรักษาโรคไซนัสอักเสบได้ ท่านทดลองท่านเอง เดี๋ยวผมขยายความต่อไปและก็มีพระอีกรูปหนึ่งบอกว่า หัวข้อสุขภาพเป็นเรื่องง่ายๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 311 มีนาคม 2548
    บางคนอยู่ๆ นอนตื่นขึ้นมา อาจสังเกตว่ามีอาการ ปากเบี้ยว ปิดตาและยักคิ้วข้างหนึ่งไม่ได้ อาการเหล่านี้มักมีสาเหตุจากโรคอัมพาต เบลล์ อาการที่เกิดขึ้นถึงแม้จะดูน่าตกใจกลัว แต่จริงๆ แล้วเป็นโรคที่ไม่มีอันตรายร้ายแรง และหายได้สนิทเป็นส่วนใหญ่-ชื่อภาษาไทย อัมพาตเบลล์, เบลล์พัลซี, อัมพาตใบหน้าครึ่งซีก, โรคปากเบี้ยว-ชื่อภาษาอังกฤษ Bell's palsy*, Idiopathic facial palsy -สาเหตุ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 311 มีนาคม 2548
    ถาม : กนกรัตน์/นราธิวาสดิฉันมีปัญหาของน้องสาวจะขอเรียนปรึกษาค่ะ น้องอายุ ๑๙ ปี กำลังเรียน อยู่ ปวช. ปี ๑ ปัญหาคือ เวลานอนน้องมักจะนอนกัดฟันเกือบจะทุกคืนเลย ดิฉันจึงอยากทราบว่า - การนอนกัดฟันจะมีอันตราย ไหม - และจะช่วยไม่ให้น้องสาวนอนกัดฟันได้อย่างไรขอความกรุณาคุณหมอช่วยแนะนำด้วยนะคะตอบ : ทญ.จันทร์เพ็ญ เบญจกุลการนอนกัดฟัน (Bruxism) คือ การขบเคี้ยวฟันที่ไม่ใช่การทำงานตามหน้าที่ที่ถูกต้อง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 311 มีนาคม 2548
    ถาม : กมลรัตน์/มหาสารคามดิฉันอายุ ๒๐ ปี น้ำหนัก ๕๒ กิโลกรัม ส่วนสูง ๑๕๕ เซนติเมตร กำลังศึกษาอยู่ (ออกกำลังกายด้วยการวิ่งจ๊อกกิ้งตอนเย็น) ดิฉันมีปัญหาจะขอเรียนปรึกษา คุณหมอคือ ดิฉันได้ดูการแข่งขันเทนนิสระดับโลก และในระหว่างพักเกมนั้น นักกีฬาได้ดื่มน้ำและกินกล้วยหอม จึงอยากทราบว่า- กล้วยหอมมีสารอาหารอะไรบ้าง- กล้วยหอมมีผลต่อร่างกายนักกีฬาขณะแข่งขันอย่างไร - คนปกติที่ไม่ได้เล่นกีฬา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 311 มีนาคม 2548
    ถาม : ศิริพร/อ่างทองดิฉันเป็นโรคแพ้อากาศ จะกินยาคลอร์เฟนิรามีน ครั้งละ ๑ เม็ดก่อนนอนทุกคืน ไม่ทราบว่าจะให้โทษ ต่อร่างกายหรือไม่ อย่างไรคุณหมอช่วยตอบด้วยนะคะตอบ : พญ.ฉวีวรรณ บุนนาคสำหรับโรคแพ้อากาศ การกินยาคลอร์เฟนิรามีนครั้งละ ๑ เม็ดก่อน นอนทุกคืน จะให้โทษแก่ร่างกายหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับว่ากินต่อเนื่องกันเป็น ระยะเวลานานเท่าใด ถ้าหากไม่มากนัก และมีระยะเว้นบ้าง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 311 มีนาคม 2548
    ถาม : ขวัญตา/กรุงเทพฯดิฉันอายุ ๔๗ ปี มีอาชีพค้าขาย มีปัญหาคือ ดิฉันเป็นโรคกระเพาะไป หาหมอมา ๒ ครั้ง กินยาติดต่อกันมา ๑ เดือนแล้ว อาการดีขึ้น จึงหยุดยา ต่อมากินข้าวไม่ตรงเวลา รู้สึกว่าแสบ ท้องขึ้นมาอีก ขณะนี้กินยาลดกรดอยู่ จึงขอเรียนถามว่า- ควรจะปฏิบัติตัวในชีวิตประจำวันอย่างไร - ยาลดกรดนี้เมื่อกินไปนานๆ จะมีผลข้างเคียงหรือไม่ ขอความกรุณาคุณหมอช่วยแนะนำด้วยนะคะตอบ : นพ.สุรเกียรติ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 311 มีนาคม 2548
    ถาม : นภาพร/ชัยภูมิดิฉันมีปัญหาของคุณย่าจะขอ เรียนปรึกษาคุณหมอคะ คือคุณย่าของดิฉันอายุ ๖๕ ปี เป็นโรคเบาหวาน และโดนตัดขาซ้ายไปแล้ว ๑ ข้างแล้ว และตาข้างขวาบอด แต่ปัญหาที่เป็น อยู่ตอนนี้คือ ตาข้างซ้ายกำลังจะบอด (คุณหมอบอกว่าเป็นต้อหิน) ดิฉันจึงอยากทราบว่า ตาข้างซ้ายที่เป็นต้อหินแต่ยังไม่บอดจะมีทางรักษาให้หายได้หรือไม่คะคุณหมอช่วยตอบด้วยนะคะตอบ : พญ.สกาวรัตน์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 311 มีนาคม 2548
    เรายังคงอยู่ในเรื่องของ "กริยา" ซึ่งเป็นเทคนิคเสริม เพื่อช่วยเตรียมร่างกายและจิตใจให้พร้อมต่อการฝึกเทคนิคโยคะต่างๆ โดยเฉพาะเทคนิคโยคะที่สูงขึ้น เช่น ปราณยามะและสมาธิ ซึ่งต้องการความพร้อมของร่างกายและจิตใจมากเป็นพิเศษกริยามีอยู่ด้วยกัน 6 กลุ่ม เรากล่าวถึง ตาตระกะ (ดวงตาและท่อทางเดินน้ำตา) เนติ (โพรงจมูก) กะปาละบาติ (ระบบหายใจ) ไปแล้ว คราวนี้ เรามาพูดถึงกลุ่มที่ 4 เดาติ ...